Page 29 -
P. 29
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 34 (1) : 16-28 (2558) 27
์
สรุป หาปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินในแต่ละ
สภาพป่าของทั้งพื้นที่ศึกษา พบว่า มีปริมาณการกักเก็บ
การศึกษาประเมินหาคาร์บอนเหนือพื้นดิน คาร์บอนเหนือพื้นดินรวมเท่ากับ 174,464.27 ตันคาร์บอน
ของไม้ต้นบริเวณป่าพรุควนเคร็งหลังจากเกิดไฟป่า การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการ
อย่างรุนแรง เมื่อปี พ.ศ. 2555 ด้วยข้อมูลภาพถ่าย กักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินภาคสนามกับข้อมูลภาพถ่าย
จากดาวเทียม ที่คิดเฉพาะปริมาณเหนือพื้นดิน พบว่า ดาวเทียม Landsat 8 (OLI) มาท�าการหาค่าความสัมพันธ์
การจ�าแนกข้อมูลภาพเพื่อแสดงพื้นที่ป่าและผลกระทบ ระหว่างตัวแปร โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น
จากไฟป่าจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมไทยโชตมี ได้สมการที่เหมาะสมที่สุด คือ CS = 0.0323 (G-R)
ความถูกต้องโดยรวมเท่ากับร้อยละ 72.58 (Kappa -6.5495 (R = 0.2126) ซึ่งตัวแปรอิสระนี้สามารถ
2
coefficient = 0.63) ได้สมการแอลโลเมตรีส�าหรับ อธิบายตัวแปรตามได้ร้อยละ 21.26 ซึ่งไม่สูงนัก แต่ก็
ประมาณหามวลชีวภาพเหนือพื้นดินของไม้เสม็ดขาว มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส�าคัญในทางสถิติ จึงใช้
ที่ตายเนื่องจากถูกไฟไหม้เมื่อปี พ.ศ. 2555 อยู่ในรูป ประมาณหาปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดิน
2
2 0.8952
W = 0.0381(DBH H) (R = 0.93) และค่าความ ได้ พบว่า มีปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินใน
เข้มข้นของคาร์บอนโดยน�้าหนักแห้งเฉลี่ยร้อยละ 48.21 แต่ละสภาพป่ารวมทั้งพื้นที่ศึกษาได้เท่ากับ 167,570.46
การหาปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินด้วย ตันคาร์บอน เมื่อพิจารณาผลการศึกษาวิจัยแล้ว พบว่า
สมการแอลโลเมตรี พบว่า มีมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในการประเมินค่าการกักเก็บ
เฉลี่ย 37.92 ตันต่อเฮกตาร์ โดยแยกเป็นมวลชีวภาพเหนือ คาร์บอนเหนือพื้นดินของพื้นที่ป่าพรุที่มีไม้เสม็ดขาว
พื้นดินของไม้หนุ่มเท่ากับ 1.48 ตันต่อเฮกตาร์ ไม้ใหญ่ เป็นไม้เด่นได้ (แต่อาจจะไม่เหมาะส�าหรับพื้นที่ป่าพรุ
เท่ากับ 35.22 ตันต่อเฮกตาร์ และไม้ตายเท่ากับ 1.22 ตัน สมบูรณ์ เช่น ป่าพรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส) โดย
ต่อเฮกตาร์ เมื่อคิดเป็นค่าปริมาณการกักเก็บคาร์บอน ไม่จ�าเป็นต้องเข้าไปส�ารวจภาคสนามทั้งหมด เพื่อลด
เหนือพื้นดิน พบว่า มีปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือ งบประมาณ ค่าใช้จ่าย และเวลาในการวิจัย เพื่อให้ได้
พื้นดินเฉลี่ย 17.83 ตันคาร์บอนต่อเฮกตาร์ โดยแยกเป็น ข้อมูลที่ทันสมัยสนองความต้องการใช้ข้อมูลที่เร่งด่วนได้
ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินของไม้หนุ่ม
เท่ากับ 0.70 ตันคาร์บอนต่อเฮกตาร์ ไม้ใหญ่เท่ากับ REFERENCES
16.55 ตันคาร์บอนต่อเฮกตาร์ และไม้ตายเท่ากับ 0.58 Congalton, R.G. and K. Green. 1998. Assessing
ตันคาร์บอนต่อเฮกตาร์ การวิเคราะห์ความแปรปรวน the accuracy of remotely sensed data:
แบบทางเดียว (one way ANOVA) ของปริมาณการ principles and practices. Lewis,
กักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินกับสภาพป่าต่างๆ พบว่า New York.
ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินในพื้นที่ป่าพรุ IPCC. 2006. IPCC Guideline for National
Greenhouse Gas Inventories, Volume
สมบูรณ์กับป่าพรุเสื่อมโทรม พื้นที่ป่าพรุสมบูรณ์กับ 4 Agriculture, Forestry and Other
พื้นที่ไฟไหม้ปี พ.ศ. 2553 และพื้นที่ป่าพรุสมบูรณ์กับ Land Use. National Greenhouse Gas
พื้นที่ไฟไหม้ปี พ.ศ. 2555 มีปริมาณการกักเก็บคาร์บอน Inventories Program. IGES, Japan.
เหนือพื้นดินแตกต่างกัน ส่วนพื้นที่อื่นๆ มีปริมาณการ ONEP. 2011. State of the Environment
กักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินต่อหน่วยเนื้อที่ไม่แตกต่าง 2010. 1 ed. Aroonkarnpim Limitted
st
กัน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ และเมื่อท�าการ Partnership, Bangkok.