Page 16 -
P. 16

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 14                         Thai J. For. 34 (1) : 1-15 (2015)




                ไมโครเมตร) จึงมีความเป็นไปได้ที่อนุภาคละอองลอยใน  จากทุนอุดหนุนวิจัย มก. ปีงบประมาณ 2555 ภายใต้
                บรรยากาศในช่วงนี้เป็นละอองลอยที่มาจากการเผาชีวมวล  โครงการสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่
                        3. การวิเคราะห์ความแปรผันของเมฆ และ  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจ�าปี 2555 และขอ
                ปริมาณน�้าฝนในภาคเหนือตอนบนพบว่า ปริมาณน�้าที่  ขอบคุณ ศ.ดร.นิพนธ์  ตั้งธรรม ที่ท่านเป็นนักวิจัยที่
                เป็นของเหลวในเมฆ (CWC) มีปริมาณสูงที่สุดในเดือน  ปรึกษาในโครงการนี้ ซึ่งท่านได้ให้ค�าแนะน�าในการ
                สิงหาคมเฉลี่ยประมาณ 196 กรัมต่อตารางเซนติเมตร   วางแผนแนวทางการวิจัย การคิดวิเคราะห์ ตีความ
                โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดพะเยา และแพร่ และพบใน   ผลลัพธ์ และเขียนบทความตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยให้
                เดือนธันวาคมน้อยที่สุดเฉลี่ยประมาณ 90.1 กรัมต่อ  ส�าเร็จลุล่วงไปด้วยดี
                ตารางเซนติเมตร ซึ่งสอดคล้องกับปริมาณน�้าฝนของ
                ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยที่มีค่าสูงสุดในเดือน           REFERENCES
                สิงหาคมประมาณ 300 มิลลิเมตร แต่สัดส่วนเมฆใน  Ackermann, J. 1998. The extinction-to-
                ท้องฟ้า (CF) ในภาคเหนือตอนบนมีค่าเฉลี่ยสูงสุดใน     backscatter ratio of tropospheric

                เดือนมิถุนายนประมาณ 0.71 หรือ 71% ของพื้นที่ท้องฟ้า  aerosols: a numerical study, J. Atmos.
                        4. จากการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของปริมาณ       Ocean. Tech. 15, 1043–1050.
                น�้าฝน กับปริมาณเมฆปกคลุมท้องฟ้า (CF) ปริมาณน�้า  Berner, E.K. and R.A. Berner. 1996. Global
                ที่เป็นของเหลวในเมฆ (CWC) ค่าการสลัวลงของแสง        Environment: Water, Air  and
                จากละอองลอยในอากาศ (AOT) และจุดความร้อนจาก          Geochemical Cycles. Prentice Hall,
                การเผาชีวมวล (HP) พบว่า ในทุกจังหวัดปริมาณน�้าฝน    New Jersey.
                (R) มีความสัมพันธ์มากกับปริมาณเมฆปกคลุมท้องฟ้า   Cohen, J. 1988. Statistical power analysis
                (CF) และปริมาณน�้าที่เป็นของเหลวในเมฆ (CWC) ใน      for the behavioral sciences (2
                                                                                                   nd
                ทิศทางเดียวกัน (r = 0.284 ถึง 0.0.639) และมีความ    ed.). Hillsdale, Lawrence Earlbaum
                สัมพันธ์อย่างมากกับค่าการสลัวลงของแสงจากละออง       Associates. New Jersey.
                ลอยในอากาศ (AOT) และจุดความร้อน (HP) ในทิศทาง  Gautam, R., N. C. Hsu, T. F. Eck, B. N. Holben,
                ตรงกันข้าม (r = -0.261 ถึง -0.511)                  S. Janjai, T. Jantarach, S.-C. Tsay and
                        5. จากการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณพบว่า ความ     W. K. Lau. 2012. Characterization of
                แปรปรวนของปัจจัยละอองลอย และปัจจัยเมฆสามารถ         aerosols over the Indochina peninsula
                อธิบายการเปลี่ยนแปลงปริมาณน�้าฝนได้ในระดับ          from satellite-surface observations
                ปานกลาง ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าการเพิ่มขึ้นของละอองลอย   during biomass burning pre-monsoon
                ในบรรยากาศมีผลท�าให้ปริมาณน�้าฝนลดลง และ            season, Atmos.Environ., doi:10.1016/j.
                การเพิ่มขึ้นของปริมาณน�้าในเมฆ และสัดส่วนของ        atmosenv. 2012.05.038, in press.
                เมฆในท้องฟ้าจะท�าให้ปริมาณน�้าฝนเพิ่มขึ้นอย่าง  Haywood, J. M. and O. Boucher. 2000.
                มีนัยส�าคัญทางสถิติในระดับปานกลาง                   Estimates of the direct and indirect
                                                                    radiative forcing due to tropospheric
                                ค�านิยม                             aerosols: A review, Rev. Geophys.
                                                                    38, 513–543.
                        ขอขอบพระคุณสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง   Jaenicke, R. 1993. Tropospheric aerosols in
                มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่ได้มอบทุนวิจัยสนับสนุน     Aerosol-Cloud-Climate Interactions.
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21