Page 51 -
P. 51

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                       วารสารวนศาสตร 31 (1) :46-54 (2555)                       49
                                                       ์



                          ผลและวิจารณ                     ใชขี้เลื่อยประมาณ 1,914 ตัน ราคาตันละ 1,500-
                                                           6,000 บาท (คิดเปนมูลคาประมาณ 2.9-11.5 ลานบาท)
                     สําหรับผลการศึกษาในครั้งนี้ เนื่องจากมี  ปริมาณการใชพลาสติกใหม (virgin plastic) ประมาณ
              จํานวนตัวอยางของกรณีศึกษานอยราย และขอมูล  2,550 ตัน ราคาตันละ 30,000-52,000 บาท (คิดเปน
              บางสวนเปนความลับทางการคา อาจสงผลกระทบตอ  มูลคาประมาณ 76.5-132.6 ลานบาท) ปริมาณการใช
              ธุรกิจของผูประกอบการได ผูศึกษาจึงขอรายงานผลใน  พลาสติกนํากลับมาใชใหม (recycled plastic) ประมาณ
              ภาพรวม ดังนี้                                36 ตัน ราคาตันละ 20,000 บาท (คิดเปนมูลคา 0.72
              การผลิต                                       ลานบาท) และมีปริมาณการใชสารปรับปรุงคุณสมบัติ
                     1. ผูประกอบการ ในประเทศไทย อุตสาหกรรม  อยูระหวางรอยละ 5-10 หรือคิดเปน 225-450 ตัน ราคา
              การผลิตไมประกอบพลาสติกรายแรกกอตั้งเมื่อป พ.ศ.   อยูในชวง 50-1,500 บาทตอกิโลกรัม
              2545 และในป พ.ศ. 2548 มีผูประกอบการรายใหม        3. เทคโนโลยีการผลิต ผูผลิตแตละรายมีการ
              เพิ่มขึ้นอีก 2 ราย ตอมาในป พ.ศ. 2550 มีผูประกอบ  ใชเทคโนโลยีการผลิตและกรรมวิธีการผลิตที่คลายคลึง
              การเพิ่มขึ้นอีก 2 ราย (รวมทั้งสิ้น 5 ราย) ผูประกอบ  กัน โดยมีขั้นตอนการผลิต ดังนี้
              การทั้งหมดเปนนิติบุคคลในรูปแบบของบริษัทจํากัด             3.1 การเตรียมผงไม โดยการนํา
              มีการรวมลงทุนกับบริษัทคูคาในตางประเทศ ไดแก   ขี้เลื่อยมาบดและรอนคัดขนาดใหมีอนุภาคอยูระหวาง
              สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตย  40-60 เมช (ประมาณ 250-350 ไมครอน) แลวนําเขา
              ประชาชนลาว สาธารณรัฐแหงสหภาพพมา และ        เครื่องอบแหงเพื่อควบคุมปริมาณความชื้น
              ราชอาณาจักรกัมพูชา สวนใหญเปนโรงงานขนาดกลาง              3.2 การเตรียมพลาสติก พลาสติก
              มีโรงงานขนาดเล็กและขนาดใหญอยางละ 1 โรง มีทุน  ที่ใชมี 2 ลักษณะ คือ พลาสติกใหม และพลาสติกที่
              จดทะเบียนอยูระหวาง 40-400 ลานบาท ขนาดของ  ใชงานแลว โดยพลาสติกที่ใชงานแลวจะตองทําความ
              เครื่องจักรอยูระหวาง 618.50-5,789.20 แรงมา สถานที่  สะอาด และนํามาบดกอนถึงจะนําไปผลิตได
              ตั้งของโรงงานอยูในจังหวัดนครปฐม พระนครศรีอยุธยา           3.3 การเตรียมสวนผสม ผูผลิต
              กรุงเทพมหานคร ฉะเชิงเทรา และระยอง แหงละ 1 โรง   แตละรายมีสัดสวนการใชวัตถุดิบหลักทั้งสองที่แตก
              โดยไดรับการสงเสริมจากสํานักงานคณะกรรมการ   ตางกันอยูในชวงระหวางรอยละ 30-70 มีการใชสารเคมี
              สงเสริมการลงทุน (Board of Investment; BOI) จํานวน   เพื่อปรับปรุงและเพิ่มเติมคุณสมบัติบางประการ
              1 โรง และไดรับการสนับสนุนจากสํานักงานสงเสริม  ประมาณรอยละ 5-10 ของสวนผสมไมและพลาสติก
              วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) อีก 1 โรง  เชน สารเพิ่มการยึดเกาะ สารเพิ่มสี และสารปองกัน
                     2. วัตถุดิบ ใชขี้เลื่อยไมเนื้อแข็งและพลาสติก  แสงอัลตราไวโอเลต จากนั้นใชเครื่องจักรผสมสวน
              ชนิดเทอรโมพลาสติก ชนิด PVC PE HDPE และไวนิล   ผสมใหเปนเนื้อเดียวกัน
              (vinyl) เปนวัตถุดิบหลักในการผลิตไมประกอบพลาสติก          3.4  การขึ้นรูป นําสวนผสมเขา
              รวมทั้งมีการใชสารเคมีบางชนิดเพียงเล็กนอยเพื่อ  เครื่องขึ้นรูปพลาสติก (molding machine) ดวยวิธี
              ปรับปรุงหรือเพิ่มคุณสมบัติใหกับผลิตภัณฑ เชน สาร  การอัดรีด (extrusion) ที่อุณหภูมิไมเกิน 200 องศา
              เพิ่มความแข็งแรง สารปองกันแสงอัลตราไวโอเลต   เซลเซียส สวนผสมจะไหลผานแมพิมพออกมาใน
              สารเพิ่มสี สารหลอลื่น เปนตน ขี้เลื่อยไมเนื้อแข็งที่ใช   ลักษณะของเสนไมประกอบพลาสติกยาวตอเนื่อง
              เชน ไมสัก ไมมะคา ไมเต็ง ไมแดง และไมยางพารา   แลวทําใหเย็นลงดวยนํ้าเพื่อใหกลายเปนของแข็ง
              แหลงที่มาของขี้เลื่อย เชน โรงเลื่อยในพื้นที่จังหวัด      3.5 การตัดและตกแตงแผน ใช
              ระยอง ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา กรุงเทพมหานคร   เครื่องจักรตัดแผน แลวนํามาวางไวที่อุณหภูมิหอง
              และปทุมธานี เปนตน ในป พ.ศ. 2552 มีปริมาณการ  จากนั้นนําไปเปดผิวไมโดยการขัด หรือพิมพลายไม
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56