Page 46 -
P. 46
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
44 Thai J. For. 31 (1) : 38-45 (2012)
จากตารางตรงที่ระดับคา K=1 และ n= 9 ที่ระดับ เทากับปริมาณของไมซุงได ดังนี้
ความเชื่อมั่น 0.05 มีคาเทากับ 1.32 ดังนั้น DW> dU - Conversion rate เทากับ 30% (มณฑี, 2536)
ซึ่งแสดงวาคาความคลาดเคลื่อนของตัวแปรเปนอิสระ - ปริมาณไมแปรรูป = 0.30
ตอกัน โดยสามารถแสดงความสัมพันธระหวางราคา ปริมาณไมซุง
ไมสักแปรรูปกับเวลาไดดังนี้ ดังนั้น ปริมาณไมซุง = 6,905
0.30
P = 2255.95+74.30T+7.62T 2
t = 23,016.67
ลูกบาศกเมตร
โดยกําหนดให
P = ราคาเฉลี่ยของไมสักแปรรูป จากการศึกษาหาผลผลิตของสวนปาไมสัก
t
T = เวลา ในปที่ 10,11,12,13 และ 14 อายุ 30 ป ในภาคเหนือของประเทศไทย (นิรนาม,
2536) พบวา ปริมาตรไมสักที่ทําเปนสินคาไดใน
จากสมการที่ไดสามารถนําไปคาดคะเนราคา พื้นที่ปลูกชั้นคุณภาพตํ่า เทากับ 15.4 ลูกบาศกเมตร
เฉลี่ยของไมสักแปรรูปในชวงระยะเวลา พ.ศ. 2554 - ตอไร ดังนั้น ปริมาณไมซุงที่ใช 23,016.67 ลูกบาศก
2558 ไดโดยแทนคา T ในป พ.ศ. 2554 เทากับ 10 และ เมตร จึงตองใชพื้นที่ปลูก 1,494.59 ไรตอป แตการ
ป พ.ศ. 2555 เทากับ 11 และตอไปเรื่อยๆ จนถึงป พ.ศ. ที่โรงงานเฟอรนิเจอรไมสักในกรุงเทพมหานครได
2558 คา T จะมีคาเทากับ 14 จากนั้นนําคาของราคา อยางพอเพียงและอยางยั่งยืน พื้นที่สวนสักที่เหมาะสม
ไมสักแปรรูปที่ไดไปแทนคาในสมการอุปสงคที่มีตอ จะเทากับพื้นที่สวนสักที่ทําไมออกรายปคูณดวยรอบ
ไมสักแปรรูป จะไดปริมาณของอุปสงคที่มีตอไมสัก หมุนเวียนเหมาะสมของสวนสักซึ่งในที่นี้ใชรอบ
แปรรูปในป พ.ศ. 2554-2558 (Table 3) ซึ่งมีแนวโนม หมุนเวียนที่กําหนดโดยองคการอุตสาหกรรมปาไม
ลดลงทุกปโดยมีสาเหตุมาจากราคาของไมสักแปรรูปที่ คือ 30 ป ดังนั้นพื้นที่สวนสักที่เหมาะสมจะเทากับ
เพิ่มสูงขึ้น และปริมาณความตองการเฟอรนิเจอรไมสัก 44,838 ไร (1,494.59x30) ทั้งนี้ จากการศึกษาขอมูล
มีแนวโนมลดลง การปลูกสวนสักเศรษฐกิจในความรับผิดชอบของ
องคการอุตสาหกรรมปาไม พบวา ปจจุบันองคการ
การประเมินหาพื้นที่ปลูกไมสักเพื่อรองรับ อุตสาหกรรมปาไมมีพื้นที่ปลูกสวนสักประมาณ
อุปสงคที่เกิดขึ้นในอนาคต 230,000 ไร โดยมีพื้นที่ปลูกสวนสักในภาคกลาง
จากผลการศึกษาพบวา ความตองการใชไม
สักแปรรูป ณ ป พ.ศ. 2546 ซึ่งเปนปที่มีความตองการ ประมาณ 40,000 ไร (องคการอุตสาหกรรมปาไม, 2554)
ใชไมสักแปรรูปมากที่สุด เทากับ 243,863.9 ลูกบาศกฟุต ดังนั้นจึงตองเพิ่มพื้นที่ปลูกสวนสักประมาณ 4,838 ไร
หรือประมาณ 6,905 ลูกบาศกเมตร ซึ่งนําไปคิดเทียบ เพื่อรองรับความตองการของโรงงานเฟอรนิเจอรไม
ในกรุงเทพมหานครในปจจุบัน
Table 3 Demand for teak lumber for furniture factories in Bangkok and average price of teak
lumber, estimated from the equation.
Average price of teak lumber Demand for teak lumber
Year
(baht/ m ) (m )
3
3
2554 3 760.95 169 617.60
2555 3 995.27 159 553.55
2556 4 244.83 148 834.95
2557 4 509.63 137 461.79
2558 4 789.67 125 434.07