Page 41 -
P. 41

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                       วารสารวนศาสตร 31 (1) : 38-45 (2555)                      39
                                                      ์



                                                   บทคัดยอ


                     การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงตัวแปรที่มีผลตออุปสงคที่มีตอไมสักแปรรูปของโรงงาน
              เฟอรนิเจอรไมในกรุงเทพมหานคร คาดคะเนการใชไมสักแปรรูปของโรงงานเฟอรนิเจอรไมในกรุงเทพมหานครใน
              อนาคต และประเมินพื้นที่สวนสักที่สามารถดําเนินการเพิ่มขึ้นไดเพื่อรองรับอุปสงคที่เกิดขึ้นในอนาคตในชวงระยะ
              เวลา 5 ป ตอไป (ป พ.ศ. 2554-2558) โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลผูประกอบการโรงงาน
              เฟอรนิเจอรไมในกรุงเทพมหานคร จํานวน 73 โรง และใชโปรแกรมสําเร็จรูปวิเคราะหขอมูลเพื่อหาคารอยละ คาเฉลี่ย
              และสมการถดถอย โดยกําหนดคานัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และคํานวณหาคา Durbin Watson เพื่อใชในการ
              ทดสอบหาสมการที่ถูกตองและเหมาะสมที่สุด
                     ผลการศึกษาพบวา ปจจัยที่มีผลตออุปสงคที่มีตอไมสักแปรรูปของโรงงานเฟอรนิเจอรไมในกรุงเทพมหานคร
              คือ ราคาไมสักแปรรูป โดยมีระดับนัยสําคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01 จากการคาดการณปริมาณอุปสงคที่มีตอไมสัก
              แปรรูปในชวงระยะเวลา 5 ปตอไป (ป พ.ศ. 2554-2558) พบวา มีแนวโนมลดลงทุกป และจากการประเมินหาพื้นที่ปลูก
              ไมสักเพื่อรองรับอุปสงคที่เกิดขึ้นในอนาคต พบวาความตองการใชไมสักในปสูงสุดเมื่อนําไปคิดเทียบกับไมซุงมีคา
              เทากับ 23,016.7 ลูกบาศกเมตร จึงตองใชพื้นที่ปลูก 1,494.6 ไรตอป ซึ่งรอบหมุนเวียนของสวนปาไมสักขององคการ
              อุตสาหกรรมปาไมเทากับ 30 ป ดังนั้นพื้นที่สวนสักที่เหมาะสมของโรงงานเฟอรนิเจอรไมในกรุงเทพมหานครเทากับ
              44,838 ไร ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนําไปวางแผนงานการสงเสริมการปลูกไมสักทั้งภาครัฐและเอกชนใหมีปริมาณที่
              เพียงพอกับอุปสงคของโรงงานเฟอรนิเจอรไมในกรุงเทพมหานครรวมไปถึงอุปสงคภายในประเทศได

              คําสําคัญ: อุปสงค ไมสักแปรรูป โรงงานเฟอรนิเจอรไม กรุงเทพมหานคร


                               คํานํา                      เปนจํานวนมาก ทําใหมีการยกเลิกสัมปทานทําไมทั่ว
                                                           ประเทศในป พ.ศ. 2532 แตอยางไรก็ตามการลักลอบตัด

                     ไมสัก  เปนไมที่รูจักกันแพรหลายทั่ว  ฟนไมจากปาธรรมชาติก็ยังคงมีอยู สงผลทําใหโรงงาน
              โลก อันเนื่องมาจากลักษณะของเนื้อไมที่มีคุณภาพ  แปรรูปไมในประเทศขาดแคลนวัตถุดิบและสงผลกระทบ
              สูงมีลายไมที่สวยงามตามธรรมชาติ มีความแข็งแรง   ตอเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากทําใหการทําไมใน
              สามารถนําไปใชประโยชนไดแทบทุกรูปแบบตามอายุ  ประเทศลดลงตองนําเขาไมจากตางประเทศเพิ่มมาก
              และขนาดของไมที่ตัดออกมาจําหนาย ตั้งแตไมขนาด  ขึ้นมาโดยตลอด โดยปริมาณการนําเขาไมสักแปรรูป
              เล็กที่ไดจาการตัดขยายระยะจนถึงไมซุงขนาดใหญเพื่อ  ไดเพิ่มจาก 6,690 ลูกบาศกเมตร ในป พ.ศ. 2547 เปน
              แปรรูป และใชประโยชนไดอยางกวางขวาง อาทิ การ  17,277 ลูกบาศกเมตร ในป พ.ศ. 2551 เปนผลทําให
              กอสรางอาคาร บานเรือน เฟอรนิเจอร ไมปารเก ไมอัด   ประเทศตองเสียดุลการคาทางภาคปาไมในป พ.ศ. 2551
              ไมแกะสลัก ไมโมเสก วงกบประตูหนาตาง เปนตน  เปนมูลคาสูงถึง 274,057,901 บาท (กรมอุทยานแหง
                     ทั้งนี้ ประเทศไทยก็เปนประเทศหนึ่งที่มีการ  ชาติ สัตวปา และพันธุพืช, 2553)
              ปลูกไมสักอยางแพรหลายโดยเริ่มมีการปลูกทางตอน      ไมวาจะยุคสมัยใดความตองการไมสักใน
              บนของภาคเหนือกอน แลวกระจายลงมาภาคเหนือ     ประเทศไทยก็ยังคงมีอยูอยางตอเนื่อง ซึ่งหากเรา
              ตอนลาง แตเนื่องจากความตองการไมสักมีเพิ่มมาก  สามารถปลูกตนไมเพื่อทดแทนความตองการของตลาด
              ขึ้นอยางตอเนื่อง จึงทําใหเกิดปญหาการลักลอบตัด  ในประเทศไดก็จะลดการนําเขาไมจากตางประเทศ
              ไมจากปาเบญจพรรณที่มีไมสักขึ้นอยูตามธรรมชาติ  ได นอกจากนี้ในปจจุบันกระแสที่ผูคนหันมาใสใจ
                                                           กับ Green Product และ Eco Design หรือผลิตภัณฑ
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46