Page 38 -
P. 38

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


              36                         Thai J. For. 31 (1) : 26-37 (2012)



              4. การเจริญทดแทนตามธรรมชาติและความ           กูดเกี๊ยะ (Hypolepis punctata) เฟนกานดํา
              หนาแนนของพืชพื้นลาง (Natural regeneration   (Adiantum capillus-veneris) มาสามตอน (Asparagus
              and undergrowth density)                     filicinus) และหญาหลายชนิด กลาไมที่พบมากคือ
                     สวนปาไมสนสามใบในหนวยจัดการตนนํ้า  สนสามใบ (P. kesiya) เอ็นอา (Melastoma sanguineum)
              บอแกวทั้ง 21 ชั้นอายุ พบกลาไมและพืชพื้นลางแปรผัน  เขิงแขงมา (Leea guineensis) ไครมด (G. acuminatum)
              ระหวาง 21-59 ชนิด มีความหนาแนน 15,267-72,567   เหมือดหลวง (A. villosa) แขงกวาง (W. tinctoria) ทะโล
              ตนตอเฮกแตร เปนกลาไมสนสามใบ 0-4,867 ตนตอ  (S. wallichii) คาหด (Engelhardtia spicata) กอแอบ (Q.
              เฮกแตร กลาไมอื่นๆ 3,200-17,800 ตนตอเฮกแตร และ  vestita)  กอตี (C. purpurea) เปนตน ปจจัยที่มีอิทธิพล
              พืชพื้นลาง 3,200- 65,033 ตนตอเฮกแตร พืชพื้นลางที่  ตอการทดแทนของกลาในสวนปาสนสามใบ ไดแก ไฟ
              พบมากคือ สาบหมา (Ageratina adenophora) สาบเสือ  ปา แสง และแมไมบริเวณขางเคียงที่จะกระจายพันธุไป
              (Chromolaena odoratum) หนามไขปู (Rubus rugosus)     สูสวนปา (Kiianmaa, 2005)


                               สรุป                                เอกสารและสิ่งอางอิง



                     สนสามใบมีการเติบโตดีในชวงอายุ 16-20 ป   ปฏิสันถาร  โรจนกุล.  2540.  การเติบโตของไมสน
              มีความเพิ่มพูนทางความสูงเฉลี่ย 0.82 เมตรตอป ขนาด     สามใบที่มีอายุตางๆ กัน.  สวนอนุรักษตนนํ้า
              เสนผานศูนยกลางเฉลี่ย 1.28 เซนติเมตรตอป และ     สํานักอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ, กรมปาไม.

              ปริมาตรลําตนเฉลี่ย 6.23 ลูกบาศกเมตรตอเฮกแตรตอป  เริงชัย  เผาสัจจ.  2527.  การทดสอบชนิดพันธุและ
                     สวนปาไมสนสามใบในพื้นที่ตนนํ้ามีการ        ถิ่นกําเนิดไมสนเพื่อทําเยื่อกระดาษ, น. 432-
              ทดแทนของพรรณไมใบกวางหลายชนิดซึ่งกระจาย            459.  ใน รายงานการประชุมการปาไมประจํา
              พันธุจากแมไมที่เหลืออยูในสวนปาและหยอมปาที่อยู     ป 2527 เลม 3, 19-23 พฤศจิกายน 2527.
              บริเวณขางเคียง ทําใหสวนปาสนสามใบมีความหลาก       กรมปาไม, กรุงเทพฯ.
              ชนิดพันธุมากขึ้นและสามารถพัฒนาไปเปนปาดิบเขา  สาโรจน วัฒนสุขสกุล  ประดิษฐ หอมจีน และ อําไพ
              ธรรมชาติในที่สุด พรรณไมที่เขามาทดแทนในสวน         พรลีแสงสุวรรณ.  2539.  การเติบโตของไม
              ปา ไดแก ไมวงศกอ เชน กอเดือย กอแปน กอหมาก      สน 4 ชนิด ตามการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล.
              กอตี กอนก นอกจากนี้ยังมีพรรณไมอีกหลายชนิด        ศูนยวนวัฒนวิจัยที่ 1 สวนวนวัฒนวิจัย สํานัก
              เชน มะขามปอม แขงกวาง เก็ดดํา ทะโล เหมือดหลวง      วิชาการปาไม, กรมปาไม.
              มันปลา สมป ไครมด มะมุนแดง หมอนออน เหมือด  สุนทร  คํายอง.  2544.  ผลกระทบทางนิเวศวิทยาของ

              คนตัวเมีย สะทิบดํา เปนตน                          การปลูกปาไมสนสามใบเปนสวนปาบนพื้นที่
                                                                  ตนนํ้าที่สูงในภาคเหนือ. ภาควิชาปฐพีศาสตร

                                                                  และอนุรักษศาสตร คณะเกษตรศาสตร
                              คํานิยม                             มหาวิทยาลัยเชียงใหม, เชียงใหม.

                                                           อําไพ พรลีแสงสุวรรณ, สุนทร  คํายอง,  เกรียงศักดิ์
                     ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเชียงใหม ที่ใหทุน       ศรีเงินยวง และ นิวัติ อนงครักษ.  2553.

              สนับสนุนสวนหนึ่งในการทําวิจัยครั้งนี้              ความหลากหลายของชนิดพันธุไมในปา
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43