Page 36 -
P. 36

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


              34                         Thai J. For. 31 (1) : 26-37 (2012)



              3. พัฒนาการของการทดแทนของพรรณไมใน           มันปลา (Glochidion sphaerogynum) สมป (Vaccinium
              สวนปาสนสามใบ (Succession development        sprengelii) ไครมด (Glochidion acuminatum) ฯลฯ รอง
                                                           ลงมาเปนไมขนาด 50-100 เซนติเมตร ไดแก กอเดือย
              in pine plantation)                          (C. acuminatissima) กอแปน (C. diversifolia)  กอหมาก
                     สวนปาสนสามใบในหนวยจัดการตนนํ้า     (Q. brandisiana) กอตี (C. purpurea) กอนก (Lithocarpus
              บอแกวทั้ง 21 ชั้นอายุ มีไมตนใบกวางหลายชนิดขึ้น  polystachyus) ทะโล (S. wallichii) มะมุนแดง
              ทดแทนในสวนปา โดยมีจํานวนชนิดไมที่พบ 17-72   (Elaeocarpus sphaericus) หมอนออน (Myrica esculenta)
              ชนิด มีความหนาแนนตนไมแปรผันระหวาง 540-2,688   เหมือดคนตัวผู (Helicia nilagirica) สะทิบดํา (Phoebe
              ตนตอเฮกแตร พบสนสามใบแปรผัน 75-429 ตนตอ  paniculata) เปนตน นอกจากนี้ยังพบไมขนาดใหญซึ่ง
              เฮกแตร และพรรณไมชนิดอื่นแปรผัน 131-2,331   โตกวา 100 เซนติเมตร ที่เปนไมดั้งเดิมที่หลงเหลืออยู
              ตนตอเฮกแตร สนสามใบในสวนปามีคาดัชนีความ  กอนปลูกสรางสวนปา เชน กอเดือย (C. acuminatissima)
              สําคัญแปรผันระหวางรอยละ 10.65-60.09 และคาดัชนี  กอแปน (C. diversifolia) กอแอบ (Q. vestita) กอหมาก
                                                           (Q. brandisiana) ทะโล (S. wallichii) ไกแดง (Ternstroemia
              ความหลากชนิดแปรผันระหวาง 1.57- 4.65 (Table 3)  gymnanthera) สารภีปา (Anneslea fragrans) มะมุน
                     สนสามใบในสวนปาสวนใหญมีขนาดเสน     แดง (E. sphaericus) เปนตน พรรณไมใบกวางเหลานี้
              รอบวงที่ระดับอกระหวาง 50-150 เซนติเมตร (Figure 8)   เปนแหลงแมไมที่จะกระจายพันธุและเกิดการทดแทน
              สนสามใบที่มีขนาด 30-50 เซนติเมตร เปนไมสนที่  ในสวนปาสนสามใบ นอกจากนี้ หยอมปาธรรมชาติ
              ปลูกเสริมเพื่อฟนฟูสภาพปาและบางสวนเกิดจากการ  ขางเคียงยังเปนแหลงแมไมที่สําคัญในการกระจายพันธุ
              ขึ้นทดแทนเองตามธรรมชาติ สวนพรรณไมใบกวางที่  ไปสูสวนปาดวย การกระจายพันธุมีแนวโนมแปรผัน
              ขึ้นทดแทนในสวนปามีหลายชนิดซึ่งสวนใหญมีขนาด   ไปตามระดับความสูงของพื้นที่และความใกลไกลของ
              30-50 เซนติเมตร (Figure 8)  ไดแก ไมวงศกอ เชน กอ  แมไม (อําไพ และคณะ, 2553) โดยมีสัมประสิทธิ์ความ
              แปน (Castanop sis diversifolia) กอเดือย (C. acuminatis  คลายคลึงระหวางสวนปาแปรผันระหวางรอยละ 11-70
              sima) กอตี (C. purpurea) กอหมาก (Quercus brandisiana)   และสัมประสิทธิ์ความคลายคลึงระหวางสวนปาและ
                                                           หยอมปาธรรมชาติบริเวณขางเคียงแปรผันระหวางรอย
              กอแอบ (Q. vestita) เปนตน นอกจากนี้ยังมีไมชนิด  ละ 3-66 การกระจายพันธุและขึ้นทดแทนของไมใบกวาง
              อื่นๆ เชน มะขามปอม (Phyllanthus emblica) แขงกวาง   ทําใหสวนปาสนสามใบมีความหลากหลายของชนิด
              (Wendlandia tinctoria) เก็ดดํา (Dalbergia assamica)   พันธุไมเพิ่มขึ้นและมีแนวโนมจะพัฒนาไปเปนปาดิบ
              ทะโล (Schima wallichii) เหมือดหลวง (Aporosa villosa)   เขาธรรมชาติในที่สุด


                            Pinus kesiya                             Other broadleaved trees




              No. of trees/ha                              No. of trees/ha










                                Age (year)                                 Age (year)
              Figure 8  Tree density of Pinus kesiya and other broadleaved trees over stand age
                         and the size class distribution (gbh) of other broadleaved trees over stand age.
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41