Page 288 -
P. 288
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารมนุษยศาสตร์ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560) 269
3. ระเบียบวิธีวิจัย
3.1 การเก็บข้อมูล
ในงานวิจัยนี้ ได้เก็บข้อมูลค าให้การจากนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็น
นิสิตชายคณะวิศวกรรมศาสตร์ จ านวน 30 คน และนิสิตหญิงคณะอักษรศาสตร์ จ านวน
30 คน รวมทั้งสิ้น 60 คน โดยนิสิตแต่ละคนจะได้ชมภาพยนตร์ขนาดสั้น และเล่าถึง
สิ่งที่พบเห็นจ านวน 2 ครั้งด้วยกัน ครั้งแรกจะเป็นการให้การตามสิ่งที่ได้รับรู้อย่าง
ตรงไปตรงมา (ค าให้การจริง) ส่วนอีกครั้งหนึ่งก าหนดให้ผู้พูดให้การที่ไม่ตรงกับสิ่งที่
ได้เห็นมา โดยมีเจตนาโกหก (ค าให้การเท็จ)
ส าหรับค าให้การจริงนั้น ผู้วิจัยได้ให้ผู้สวมบทบาทเจ้าหน้าที่สืบสวนขอให้
ผู้ให้ข้อมูลเล่าเหตุการณ์ทั้งหมดตามที่คุณได้เห็นมาโดยละเอียด โดยแจ้งว่าจะมีการ
บันทึกเสียงขณะเล่าเรื่อง
ส่วนค าให้การเท็จ ผู้ช่วยวิจัยจะสั่งผู้ให้ข้อมูลว่า จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น
คุณเป็นพยานเพียงคนเดียวที่จะสามารถให้ค าให้การเพื่อช่วยเหลือเพื่อนรักของคุณ
ให้พ้นจากความผิดในคดีฆ่าคนตายโดยเจตนาได้ ซึ่งหากคุณท าไม่ส าเร็จ คุณจะถูก
จับข้อหาให้การเท็จ คุณจะเล่าถึงเหตุการณ์นั้นอย่างไร
3.2 การวิเคราะห์ข้อมูลภาษา
ข้อมูลภาษาซึ่งได้แก่ค าให้การจริงและค าให้การเท็จจะถูกน ามาแบ่งเป็น
ค าเดี่ยวด้วยโปรแกรม Thai word segmentation ที่พัฒนาขึ้นมาโดย วิโรจน์ อรุณมานะกุล
หลังจากนั้นผู้วิจัยได้ก ากับค าที่พบทุกค าตามประเภททางไวยากรณ์ไทยและประเภท
ค าเชิงจิตวิทยา โดยเกณฑ์ตามประเภททางไวยากรณ์ (grammatical category) ยึด
เกณฑ์ของอมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (2553) โดยมีหลักการส าคัญคือ จะถือว่าภาษามีเพียง
โครงสร้างเดียว คือโครงสร้างผิว ดังนั้นในการวิเคราะห์ผู้วิจัยจะยึดโครงสร้างที่เห็นใน
ภาษาที่ใช้จริง โดยไม่ค านึงว่าควรจะมีค าที่ละไว้ในโครงสร้างลึกหรือไม่ ค าที่พบจาก
ในข้อมูลจึงจะถูกก ากับเป็น 8 ประเภทคือ ค ากริยา ค านาม ค าคุณศัพท์ ค าบุพบท