Page 234 -
P. 234

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                      วารสารมนุษยศาสตร์ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558)   223


                 แบบ virtual events หรือการจัดงานที่น าเอาเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาใช้ ซึ่งผู้เข้าร่วม
                 ไม่มีความจ าเป็นที่จะต้องอยู่ ณ สถานที่จัดงาน แต่สามารถสื่อสารและด าเนินการ
                 ตามจุดประสงค์ของงานได้ตามปกติไม่ว่าจะเป็นการประชุมสัมมนา (virtual
                 meetings)  หรืองานนิทรรศการแสดงสินค้า (virtual  exhibitions)  โดยเทคโนโลยีที่

                 ส าคัญประเภทต่างๆ ที่ได้ถูกน าเข้ามาใช้อย่างแพร่หลายในการจัดงานดังกล่าว
                 ยกตัวอย่างเช่น Video Conference อีเมล แอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์มือถือ เทคโนโลยี
                 คลาวด์ (Cloud technology) Podcast Teleconference รวมถึงเทคโนโลยีอื่นๆ ที่ได้
                 ถูกน ามาประยุกต์ใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดประชุมและงานแสดงสินค้า

                 แม้ว่าผู้เข้าร่วมงานจะไม่ได้อยู่ในสถานที่เดียวกันเลยก็ตาม หากมองในเรื่องของประโยชน์
                 ที่ส าคัญที่สุดของ virtual  events  คือการจัดประชุมหรือการจัดงานนิทรรศการแสดง
                 สินค้าด้วยวิธีนี้มีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการจัดงานไมซ์แบบทั่วไปมาก ซึ่งเป็นผลให้การ
                 จัดประชุมประเภทนี้ได้รับความนิยมมากขึ้นในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากบริษัท
                 หรือสมาคมนานาชาติต่างๆ สามารถลดค่าใช้จ่ายในการจัดงานโดยเฉพาะในสภาวะ
                  ั
                 ปจจุบันที่เศรษฐกิจฟื้นตัวช้า นอกจากนี้ virtual  events  ยังมีข้อดีอื่นๆ อีกมากมาย
                 เช่น สามารถดึงดูดผู้เข้าร่วมงานที่มีความหลากหลายได้เป็นจ านวนมาก เนื่องจากไม่
                 จ าเป็นที่จะต้องเสียเวลาเดินทางไปเข้าร่วมงาน ณ สถานที่จัดงานนอกจากนั้น virtual
                 events ยังสามารถให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ได้มากกว่าและจ าเพาะเจาะจงกว่า เนื่อง
                 ด้วยข้อจ ากัดในเชิงสถานที่และเวลานั้นหมดไป รวมถึงการที่ข้อมูลต่างๆ สามารถถูก

                 จัดเตรียมไว้ได้ก่อน ท าให้การน าเสนอเป็นไปได้ง่ายดาย ท้ายที่สุดการเก็บข้อมูลและ
                 ติดตามการใช้งานของผู้เข้าร่วมงานนั้นสามารถท าได้ง่าย โดยผู้จัดสามารถน าข้อมูล
                 ดังกล่าวไปพัฒนาเป็นโปรแกรมบริหารงานลูกค้าสัมพันธ์ (Customer  Relationship
                 Management Program: CRM) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                        จากกรณีศึกษาที่ 2  ในทัศนะของผู้เขียนเห็นว่า หากมองในเรื่องของ
                 ลักษณะขององค์การเสมือนจริง สามารถวิเคราะห์ประเด็นเกี่ยวกับการใช้
                 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร ได้แก่ Video  Conference  อีเมล Cloud

                 Technology Podcast และ Teleconference ต่างก็เป็นเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสารที่เข้ามามี
                 บทบาทในการจัดงานไมซ์แบบ virtual  events  ทั้งสิ้น ในประเด็นของ การด าเนินงาน
   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239