Page 39 -
P. 39

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


          28       วารสารมนุษยศาสตร

          (metaphorical expressions) หมายถึง ถอยคําที่แสดงการเปรียบเทียบระหวางสิ่งที่
         แตกตางกันสองสิ่ง และมโนอุปลักษณหรืออุปลักษณเชิงมโนทัศน (conceptual
         metaphor)  หมายถึง ความคิดซึ่งมีลักษณะเปนความเปรียบที่อยูในระบบการรับรู
          ของผูใชภาษา ดวยเหตุนี้ถอยคําอุปลักษณที่ใชสื่อสารกันในชีวิตประจําวันจึงเปน

          หลักฐานสําคัญที่สะทอนระบบวิธีคิดหรือมโนทัศนของผูใชภาษา (รัชนียญา
          กลิ่นน้ําหอม และ ณัฐพร พานโพธิ์ทอง, 2551: 139)

                   Lakoff and Johnson (1980: 7-8) ไดยกตัวอยางการใชอุปลักษณเชิง
          มโนทัศนในภาษาอังกฤษ เชน TIME IS MONEY กลาวคือ ผูใชภาษาเปรียบเทียบ
         เวลาเปนเงินซึ่งมโนทัศนดังกลาวสะทอนผานการใชถอยคําอุปลักษณตางๆ ไดแก

         You are wasting my time.  This gadget will save you hours. I don’t have the
          time to give you. How do you spend your time these day? You need to
          budget your time. I’ve invested a lot of time in her. I lost a lot of time when I
          got sick. เปนตน

          วิธีดําเนินการวิจัย

                 งานวิจัยนี้เปนวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative  Research) ซึ่งนําเสนอการ
          วิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห ทั้งนี้ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลจากคลังขอมูลภาษาไทย
          แหงชาติ (Thai  National  Corpus)  ของภาควิชาภาษาศาสตร คณะอักษรศาสตร
          จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและจําแนกถอยคําอุปลักษณออกจากถอยคําชนิดอื่นที่

          ไมใชอุปลักษณ ทั้งนี้การจัดมโนอุปลักษณนั้น ผูวิจัยนับความถี่จากการปรากฏการ
          ใชถอยคําอุปลักษณโดยนับทุกครั้งแมวาถอยคําอุปลักษณนั้นจะมีการปรากฏการใช
          ซ้ํากันกลาวคือ ผูวิจัยนับทุกคําที่ปรากฏการใชถอยคําอุปลักษณ 1 ครั้ง นับเปน 1 คํา
          จากนั้นจึงนํามาจัดกลุมมโนอุปลักษณโดยรวบรวมจากการใชถอยคําอุปลักษณที่มี
          ความถี่ปรากฏไมต่ํากวา 5 คํา
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44