Page 37 -
P. 37

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


          26       วารสารมนุษยศาสตร

                 Lakoff and Johnson (1980: 3) ผูริเริ่มการศึกษาอุปลักษณเชิงมโนทัศน
         กลาววา “Metaphor is pervasive in everyday life, not just in language but in
         thought and action. Our ordinary conceptual system, in term of which we both
         think and act, is fundamentally metaphorical in nature.” สรุปไดวาอุปลักษณไมได

         เปนเพียงถอยคําหรือรูปภาษาที่เราใชกันอยางแพรหลายในชีวิตประจําวัน แตอุป
         ลักษณเปนสิ่งที่สะทอนความคิดและการกระทําของมนุษย ดวยเหตุนี้มนุษยจึง
         เขาใจสิ่งที่เปนนามธรรม เพราะมนุษยนําสิ่งที่เปนนามธรรมเหลานั้นไปเปรียบเทียบ
         กับสิ่งที่เปนรูปธรรมซึ่งเปนสิ่งที่มนุษยคุนเคยหรือมีประสบการณเพื่อที่จะทําความ
         เขาใจสิ่งที่เปนนามธรรมเหลานั้น

                 จากการทบทวนวรรณกรรม ผูวิจัยพบวายังไมมีการศึกษาอุปลักษณเชิง
          มโนทัศนของคําวา “กิเลส” ในภาษาไทยโดยตรง งานวิจัยสวนใหญจะเปนงาน
          ทางดานปรัชญาและศาสนา เชน งานวิจัยของ พระมหาธีระพล สุขแสง (2546) ที่
          ศึกษาคําสอนเรื่องกิเลสในพุทธศาสนาเถรวาท และงานวิจัยของเจาอธิการทองใบ อมโร
          (2553) ที่ศึกษาหลักธรรมที่นําไปปฏิบัติเพื่อการหลุดพนกิเลสในพุทธศาสนาเถรวาท
          ในสวนของงานวิจัยทางดานภาษานั้น ผูวิจัยพบวา มีเพียงการกลาวถึง “กิเลส” ไว

          ในงานวิจัยเรื่อง “อุปลักษณเกี่ยวกับชีวิตในหนังสือธรรมะ” ของ ปยภรณ อบแพทย
          (2552) ซึ่งกลาววา กิเลสเปนปญหาและอุปสรรคตอการดําเนินชีวิตของมนุษย ทั้งนี้
         ธรรมะเปนเสมือนเครื่องมือที่จะชวยใหมนุษยฝาฟนปญหาและอุปสรรคเหลานั้นให
          ออกไปจากชีวิตของตนได

                 ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาอุปลักษณเชิงมโนทัศนของคําวา “กิเลส”ใน
          ภาษาไทย ทั้งนี้เพราะตองการทราบความคิดของผูใชภาษาไทยวามีมโนทัศน

         อยางไรเกี่ยวกับกิเลสซึ่งเปนสิ่งที่เปนนามธรรม รวมทั้งมโนทัศนเหลานั้นอาจจะ
         สะทอนมุมมองบางประการเกี่ยวกับกิเลสตามหลักธรรมทางพุทธศาสนา
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42