Page 164 -
P. 164
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555) 153
3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth Interview)
ซึ่งผู้วิจัยท าการศึกษารายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารกับนักสื่อสารมวลชนอิเล็กทรอนิกส์ ตามวัตถุประสงค์การวิจัยคือ การ
วิเคราะห์ผลกระทบการปฏิบัติงานของนักสื่อสารมวลชนอิเล็กทรอนิกส์ การปรับตัว
ของนักสื่อสารมวลชนอิเล็กทรอนิกส์ และการสร้างมาตรฐานของนักสื่อสารมวลชน
อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อยืนยันถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับนักสื่อสารมวลชน
อิเล็กทรอนิกส์
3.1 แบบสัมภาษณ์ ผู้วิจัยได้ก าหนดหัวข้อการสัมภาษณ์มีค าถามแบบ
ปลายเปิด (Open-end Form) ซึ่งผู้วิจัยท าการสัมภาษณ์ด้วยตนเอง โดยผู้เชี่ยวชาญ
ได้แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
ประเด็นการสัมภาษณ์แบ่งออกเป็น 3 ตอน กล่าวคือ
ตอนที่ 1 การปฏิบัติงานของนักสื่อสารมวลชนอิเล็กทรอนิกส์
- ปัจจัยที่ส่งเสริมกระบวนการปฏิบัติงานของนักสื่อสารมวลชน
อิเล็กทรอนิกส์
- นักสื่อสารมวลชนอิเล็กทรอนิกส์จะต้องมีการปรับกระบวนการ
ท างานอย่างไร
ตอนที่ 2 การปรับตัวของนักสื่อสารมวลชนอิเล็กทรอนิกส์
- ปัจจัยที่เป็นผลกระทบก่อให้เกิดการปรับตัวของนักสื่อสารมวลชน
อิเล็กทรอนิกส์
- ทักษะที่จ าเป็นต่อการปฏิบัติงานของนักสื่อสารมวลชน
อิเล็กทรอนิกส์เป็นอย่างไร
ตอนที่ 3 มาตรฐานนักสื่อสารมวลชนอิเล็กทรอนิกส์
- มาตรฐานการปฏิบัติงานของนักสื่อสารมวลชนอิเล็กทรอนิกส์
จ าเป็นหรือไม่อย่างไร
- ปัจจัยที่ส่งเสริมการสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงานนักสื่อสารมวลชน
อิเล็กทรอนิกส์