Page 59 -
P. 59

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               สามารถช่วยสนับสนุนการส ารวจข้อมูลในพื้นที่ได้ โดยสัดส่วนดังกล่าวท าให้มีตัวอย่างครัวเรือนจากสงขลา

               จ านวน 252 ครัวเรือน อุบลราชธานี จ านวน 102 ครัวเรือน และจันทบุรี จ านวน 46 ครัวเรือน


                       โดยสุ่มตัวอย่างจากรายชื่อเกษตรกรผู้ปลูกยางพารารายย่อยผู้ที่ลงทะเบียนกับการยางแห่งประเทศ

               ไทยในกลุ่มสหกรณ์แต่ละจังหวัด พิจารณาจากอ าเภอที่มีพื้นที่ปลูกยางและมีสมาชิกของสหกรณ์ผู้ปลูกยางมาก
               ที่สุด จากนั้นจะสุ่มครัวเรือนเพื่อตอบแบบสอบถามตามสัดส่วนของสมาชิกสหกรณ์ ยกเว้นในสงขลาจะ

               พิจารณาเพียงอ าเภอที่มีสมาชิกของสหกรณ์ผู้ปลูกยางมากที่สุด เนื่องจากอ าเภอที่มีพื้นที่ปลูกยางมากที่สุดนั้นมี
               สมาชิกของผู้ปลูกยางที่ลงทะเบียนจ านวนน้อยมาก คณะวิจัยเลือกท าการส ารวจข้อมูลจาก 3 อ าเภอ ที่เป็น

               ตัวแทนของแต่ละจังหวัด คือ รัตภูมิ (จังหวัดสงขลา), บุณฑริก (จังหวัดอุบลราชธานี) และแก่งหางแมว (จังหวัด

               จันทบุรี) โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มสหกรณ์ในแต่ละจังหวัด รวมแล้วจ านวน 12 สหกรณ์ จ านวนข้อมูลกลุ่ม
               ตัวอย่างแสดงดังตารางที่ 5.1


                       ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเกษตรกรรายย่อยจากทั้ง 12 สหกรณ์ มีอัตราการตอบกลับแบบสอบถามที่

               สมบูรณ์ ดังนี้ อ าเภอรัตภูมิ (จังหวัดสงขลา) จ านวน 5 สหกรณ์ มีแบบสอบถามที่สมบูรณ์ 252 ครัวเรือน อัตรา

               การตอบกลับ 100%, อ าเภอบุณฑริก (จังหวัดอุบลราชธานี) จ านวน 3 สหกรณ์ มีแบบสอบถามที่สมบูรณ์ 102
               ครัวเรือน อัตราการตอบกลับ 100% และอ าเภอแก่งหางแมว (จังหวัดจันทบุรี) จ านวน 4 สหกรณ์ มี

               แบบสอบถามที่สมบูรณ์ 46 ครัวเรือน อัตราการตอบกลับ 100% รวมแบบสอบถามที่สมบูรณ์ทั้งหมด 400

               ครัวเรือน ซึ่งอัตราการตอบกลับทั้งหมดคิดเป็น 100%












































                                                                                                        46
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64