Page 393 -
P. 393
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2) ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
ชุดดินต่างๆ ในกลุ่มชุดดินที่ 6 พบว่าเป็นกลุ่มชุดดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ระดับต�่า ดังตาราง
ที่ 14.8
ตารางที่ 14.8 ผลการวิเคราะห์ดิน และระดับความอุดมสมบูรณ์ของแต่ละชุดดิน ในกลุ่มชุดดินที่ 6
ชุดดิน pH CEC BS OM Avai.P Exch.K ระดับความ
cmol /kg (%) (%) (mg/kg) (mg/kg) อุดมสมบูรณ์
c
แกลง 4.90 6.72 28.06 1.29 3.30 105.30 ต�่า
คลองขุด - 4.02 8.00 3.70 6.10 16.00 ต�่า
เชียงราย - 7.40 26.00 1.40 2.60 50.00 ต�่า
ท่าศาลา - 5.60 14.00 1.70 4.40 28.00 ต�่า
นครพนม - 9.05 12.00 1.50 2.80 43.00 ต�่า
บางนารา - 5.54 26.00 1.10 3.10 49.00 ต�่า
ปากท่อ 6.60 5.87 45.00 0.80 12.00 85.00 ต�่า
พะวง - 18.35 7.00 6.70 9.20 44.00 ต�่า
พัทลุง - 6.00 43.00 1.30 3.50 23.00 ต�่า
มโนรมย์ 4.55 12.80 37.00 1.40 4.00 90.00 ต�่า
วังตง - 6.10 19.00 2.20 1.80 33.00 ต�่า
สตูล - 4.70 6.00 5.30 - - ต�่า
สุไหงโกลก - 9.75 13.00 2.40 10.20 47.00 ต�่า
ค่ามัธยฐาน 4.90 6.10 19.00 1.50 3.75 45.50 ต�่า
ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2548)
กลุ่มชุดดินที่ 7
1) ลักษณะของดิน
ดินในกลุ่มชุดดินที่ 7 มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว สีน�้าตาลปนเทาหรือสีน�้าตาล พบจุดประ
สีน�้าตาลเข้ม สีเหลืองหรือสีแดงปะปนอยู่ตลอดหน้าตัดดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อยถึงด่างเล็กน้อย
(pH 6.5-7.5) มีความอุดมสมบูรณ์อยู่ในระดับปานกลาง เช่น ชุดดินเดิมบาง ท่าตูม นครปฐม ผักกาด
พิจิตร และอุตรดิตถ์
ดิน ธาตุอาหารและปุ๋ยข้าว ความอุดมสมบูรณ์ของดินนา 389