Page 159 -
P. 159
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
คะแนนสะสมแบบปรกติ [cumulative normal distribution (CND) curve] ซึ่งจัดสเกลของคะแนน
สำ�หรับตัวชี้บอกคุณภ�พดินระหว่�ง 0-100 ดังตัวอย่�งผลก�รประเมินค�ร์บอนกัมมันต์ (active carbon)
ในดินเนื้อทร�ยแป้งดังภ�พที่ 6.1 (Gugino et al., 2009) สำ�หรับคว�มหม�ยและก�รประเมินค�ร์บอน
กัมมันต์ อธิบ�ยไว้ในข้อ 3.2
ข้อมูลในภ�พที่ 6.1 ม�จ�กผลก�รวิเคร�ะห์ค�ร์บอนกัมมันต์ในดินประม�ณ 200 ตัวอย่�ง ได้
ค่�เฉลี่ย 612 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ค่�เบี่ยงเบนม�ตรฐ�น 187 มิลลิกรัม/กิโลกรัม นำ�ม�พัฒน�เป็นกร�ฟ
เปรียบเทียบม�ตรฐ�น (calibration curve) โดยแบ่งคะแนนค่�ก�รประเมินของค�ร์บอนกัมมันต์ในดิน
บนแกนตั้งออกเป็น 3 ช่วง คือ 1) คะแนน 0-30 แสดงว่�ตำ่� 2) คะแนน >30-<70 แสดงว่�ป�นกล�ง
และ 3) 70-100 แสดงว่�สูง และกำ�หนดให้แบ่งช่วงของคะแนนเป็น 3 ช่วงแบบเดียวกันนี้สำ�หรับผลก�ร
ประเมินตัวชี้บอกอื่นๆ ด้วย
100
90
80
70
Score 60
50
40
30
20
10
0
0 200 400 600 800 1000 1200 1400
Active Carbon (ppm)
ภ�พที่ 6.1 คว�มสัมพันธ์ระหว่�งคะแนน (score) เมื่อใช้ระบบก�รให้คะแนน
กับคว�มเข้มข้นของค�ร์บอนกัมมันต์ (active carbon, ppm) ในดินเนื้อทร�ยแป้ง
สำ�หรับภ�พคว�มสัมพันธ์ระหว่�งคะแนน (score) กับผลก�รประเมินตัวชี้บอกด้�นสมบัติ
จำ�เพ�ะของดิน ได้แก่ภ�พที่ 6.1-6.18 ซึ่งปร�กฏในเอกส�รนี้ ได้ม�จ�กคู่มือก�รประเมินสุขภ�พดินของ
คอร์เนลล์ (Cornell soil health assessment)
สำ�หรับเส้นก�รให้คะแนน (scoring curve) ด้�นคุณภ�พดินแบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ (1) ค่�สูง
กว่�ดีกว่� (2) ค่�ตำ่�กว่�ดีกว่� และ (3) เส้นกร�ฟแสดงค่�เหม�ะสม ดังนี้
แบบที่ 1 ค่�สูงกว่�ดีกว่� ในกรณีนี้เมื่อผลก�รประเมินตัวชี้บอกยิ่งมีค่�สูงขึ้น สมบัติดินก็ยิ่งดีขึ้น
และได้คะแนนสูงขึ้น ระดับคะแนนจะค่อยๆ เพิ่มขึ้นจนถึงจุดสูงสุด (ภ�พที่ 6.2) ตัวชี้บอกซึ่งจำ�แนกอยู่ใน
กลุ่มนี้ คือ เสถียรภ�พของเม็ดดิน คว�มจุคว�มชื้นที่เป็นประโยชน์ ปริม�ณอินทรียวัตถุ ปริม�ณค�ร์บอน
กัมมันต์ ศักย์ก�รมินเนอร�ลไลส์ไนโตรเจน และปริม�ณโพแทสเซียมที่สกัดได้
สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย 155