Page 156 -
P. 156
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
ข้อมูลในภ�พที่ 5.4 อันเป็นที่ม�ของตัวอย่�งนี้ คือผลก�รวิเคร�ะห์ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
ในดินด้วยวิธี Mehlich III ในพื้นที่ศึกษ�ซึ่งปลูกหญ้� fescue และสมบัติดินมีดังนี้ ปริม�ณอินทรียวัตถุสูง
(ปริม�ณอินทรีย์ค�ร์บอนทั้งหมด 3.5-5.0%) เนื้อดินทร�ยแป้ง ถึงร่วนปนทร�ยแป้ง ในตัวอย่�งนี้จุดหัก
(inflection points) ของกร�ฟช่วงก�รเพิ่มปริม�ณฟอสฟอรัสที่สกัดได้นั้น ขึ้นอยู่กับปริม�ณคว�ม
ต้องก�รฟอสฟอรัสของพืช แต่จุดหักของกร�ฟช่วงลด (descending portion) ขึ้นอยู่กับคว�มชันของ
พื้นที่ อันแสดงว่�กร�ฟช่วงลด กำ�หนดบนพื้นฐ�นของระดับคว�มเสี่ยงที่เกี่ยวกับปริม�ณฟอสฟอรัสใน
นำ้�ไหลบ่�
ผลก�รประเมินตัวชี้บอกซึ่งมีหน่วยท�งวิทย�ศ�สตร์ได้ถูกแปลงเป็นคะแนนซึ่งไม่มีหน่วย (0-1)
เพื่อแทนระดับก�รทำ�หน้�ที่ในระบบ โดยคะแนน 1 แสดงว่�ศักย์ในก�รทำ�หน้�ที่ของระบบนั้นสูงที่สุด
และคะแนน 0 เป็นค่�ตำ่�ที่สุด
5.3 ก�รห�ปริพันธ์ของข้อมูลไปเป็นค่�ดรรชนีคุณภ�พดิน (soil quality index value)
ขั้นที่ 3 ซึ่งเป็นขั้นสุดท้�ยของก�รออกแบบกรอบของก�รประเมินด้�นก�รจัดก�รดิน (SMAF)
คือ ก�รห�ปริพันธ์ (integration) เพื่อสร้�งดรรชนี (index integration) ซึ่งอ�จทำ�หรือไม่ทำ�ก็ได้ แต่ถ้�
ทำ�โดยก�รคำ�นวณก็จะเห็นภ�พรวม อันเกิดจ�กก�รประมวลคะแนนเพื่อแปลคว�มหม�ยผลก�รประเมิน
แต่ละตัวชี้บอกให้เป็นค่�เดียว ซึ่งเรียกว่�ค่�ดรรชนีเชิงบวก (additive index value) ซึ่งค่�นี้จะแสดง
ผลก�รประเมินคุณภ�พดินในลักษณะองค์รวม หรือเป็นดรรชนีคุณภ�พดิน (soil quality index, SQI)
ที่แท้จริง และสะท้อนให้เห็นผลกระทบของก�รจัดก�รดินที่ผ่�นม�ต่อก�รทำ�หน้�ที่ของดิน สำ�หรับวิธีก�ร
คำ�นวณค่�ดรรชนีเชิงบวกซึ่งทำ�ได้ค่อนข้�งง่�ยและให้ผลลัพธ์ที่มีคว�มหม�ยค่อนข้�งดีนั้น ม�จ�กก�รห�
ผลรวมของคะแนนจ�กก�รแปลผลของทุกตัวชี้บอก ห�รด้วยจำ�นวนตัวชี้บอกแล้วคูณด้วย 10 ดังสมก�ร
ต่อไปนี้
( )
n
ΣS1
SQI = i = 1 × 10
n
เมื่อ S คือคะแนนก�รแปลคว�มหม�ยของตัวชี้บอก และ n คือจำ�นวนข้อมูลในชุดข้อมูลน้อย
ที่สุด (minimum data set, MDS) ก�รคูณด้วย 10 ช่วยให้พิสัยของดรรชนีมีค่� 0-10 แทนที่จะเป็น 0-1
เพื่อให้ง่�ยต่อก�รนำ�ไปใช้ง�น
152 สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย