Page 24 -
P. 24

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       โดยลักษณะของภูมิปญญาทองถิ่นมี 5 ประการ คือ 1. มีวัฒนธรรมเปนฐาน 2. มีลักษณะผสมผสาน

               3. มีความเชื่อมโยงกับความเชื่อ 4. เนนการปฏิบัติที่ถูกทํานองคลองธรรมและพฤติกรรมมนุษย 5. เนน
               พฤติกรรมกลุมของหนวยทางสังคมและสถาบันสังคม (เทิดชาย ชวยบํารุง, 2554: 46)



                       2. การพัฒนาผลิตภัณฑ หมายถึง การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือทําใหไดผลิตภัณฑใหม หรือทําให
               ผลิตภัณฑที่มีอยูดีขึ้นกวาเดิม เพื่อใหผลิตภัณฑตรงตามความตองการของผูบริโภค การพัฒนาผลิตภัณฑเปน

               เครื่องมือที่มีความจําเปน อาศัยทั้งระบบและกลยุทธที่กอใหเกิดผลิตภัณฑในเชิงพาณิชย โดยมีจุดมุงหมาย
               สําคัญคือ ตองการผลิตภัณฑใหม (new  product) ที่สรางผลกําไรในการประกอบกิจการ (อมรรัตน

               อนันตวราพงษ, 2560: 53)




               1.4 ขอบเขตการวิจัย


                       1. ขอบเขตดานเนื้อหา

                       ในการศึกษา คนหาและรวบรวมภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัดชัยนาท ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขต
               ดานเนื้อหาภูมิปญญาทองถิ่น โดยแบงประเภทภูมิปญญาทองถิ่นตามสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา

               แหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี (2541: 179) ไดแก

                              1) สาขาเกษตรกรรม
                              2) สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

                              3) สาขาแพทยแผนไทย
                              4) สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

                              5) สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน

                              6) สาขาสวัสดิการ
                              7) สาขาศิลปกรรม

                              8) สาขาการจัดการ
                              9) สาขาภาษาและวรรณกรรม

                              10) สาขาศาสนาและประเพณี











                                                          2 - 5
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29