Page 21 -
P. 21

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               กลับมาอีก เชน การฟนฟูประเพณี 3. การประยุกต คือ การนําสิ่งเดิมมาปรับใชใหเหมาะสมกับยุคสมัย 4. การ

               สรางใหม คือ การคิดคนสิ่งใหมจากฐานความรูเดิม
                       ดิเรก ปทมสิริวัฒน (2547:  40-44)  ไดอธิบายแนวคิดเรื่องทุนทางวัฒนธรรม ซึ่งครอบคลุมถึง

               ความสําคัญของภูมิปญญาทองถิ่นวา


                              ทุนทางวัฒนธรรมเกี่ยวของกับคุณคา ความรู ภูมิปญญา และงานสรางสรรค
                       อันเกิดจากการคนควาและการคนพบโดยผูทรงความรูในทองถิ่น รวมทั้งคานิยมและความ

                       เชื่อที่ผูกพันในสังคม ทําใหเกิดการจัดระเบียบของสังคมหรือสรางกฎกติกาที่เปนคุณตอ

                       สังคมโดยสวนรวม รวมถึงกิจกรรมการถายทอดความรูจากคนรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่ง
                       ตัวอยางของทุนวัฒนธรรมมีมากมาย เชน ภาษา งานศิลปกรรมซึ่งเปนความภูมิใจของ

                       สวนรวม ความรูที่สั่งสมมาในอดีต (วาดวยเรื่องราวตางๆ เชน การถนอมอาหาร สมุนไพร
                       สถาปตยกรรม เทคโนโลยีชาวบาน ฯลฯ) กติกาของสังคมที่ชวยทําใหสังคมอยูรวมกันอยาง

                       สงบสุขและเอื้ออาทรมากกวาการเอารัดเอาเปรียบกัน ผลงานวรรณกรรม คําบอกเลา

                       ดนตรี วัฒนธรรมประเพณี และความเชื่อ ฯลฯ

                       ขณะที่ มิ่งสรรพ ขาวสอาด (2555: 60) ไดกลาวถึงการนําทุนทางวัฒนธรรมมาใชในการทองเที่ยว
               อยางนาสนใจวา


                              การทองเที่ยวของไทยนับวาพึ่งพิงการขาย “วิถีไทย”  อยางยิ่ง วิถีไทยที่วาก็คือ

                       วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของไทยเรานั่นเอง คําวาวัฒนธรรมไมเพียงจะ

                       หมายถึงประเพณีตางๆ เชน การทําบุญ วันสงกรานต วันลอยกระทง แตรวมไปถึงวิธีกินอยู
                       พักผอน สื่อความหมาย วัฒนธรรมจึงเปนเครื่องมือกํากับความสัมพันธในสังคม ดังนั้น

                       วัฒนธรรมจึงนับเปนทุนอยางหนึ่ง มรดกบางประเภทยังนํามาตอยอดสรางรายไดได เชน
                       จิตรกรรมและประติมากรรมที่เปนอัตลักษณไทย แบบลายปกลายทอผาโบราณที่นํามาเปน

                       ของที่ระลึกนักทองเที่ยว มรดกวัฒนธรรมเหลานี้เปนภูมิปญญาบรรพบุรุษที่ไดกลายมาเปน
                       ภูมิปญญาสาธารณะ ไมมีใครเปนเจาของ ปจเจกบุคคลสามารถนําไปใชในเชิงพาณิชยได

                       ทุนวัฒนธรรมเปนปจจัยการผลิตที่สําคัญดานการทองเที่ยว หรือถาจะใชภาษาสมัยใหมก็

                       เปนวัตถุดิบในการผลิตบริการใหเศรษฐกิจสรางสรรค (creative economy)


                       จังหวัดชัยนาทเปนพื้นที่ที่มีประวัติความเปนมายาวนานและมีทุนทางวัฒนธรรมที่นาสนใจยิ่ง ทั้งดาน

               โบราณคดี (เมืองอูตะเภา เมืองนครนอย เมืองดงคอน) และดานประวัติศาสตร (เมืองแพรกศรีราชา เมือง
               สรรคบุรี) โบราณวัตถุสถานหลายแหงในจังหวัดชัยนาทไดรับการกําหนดอายุตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร

               สมัยประวัติศาสตร ทวารวดี อยุธยา และมีความผสมผสานกับศิลปะสุโขทัยและลานนา ในสมัยรัตนโกสินทร




                                                          2 - 2
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26