Page 22 -
P. 22

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงบันทึกเรื่องราวและภาพถายฝพระหัตถที่จังหวัดชัยนาท

               หลากหลายแงมุม เมื่อครั้งเสด็จประพาสตนผานจังหวัดชัยนาท ทั้งวัดวาอาราม ผูคน สภาพภูมิศาสตรแวดลอม
               นับเปนแหลงขอมูลที่มีคุณคาตอการทําความเขาใจจังหวัดชัยนาทในปจจุบันอยางยิ่ง ปจจุบันจังหวัดชัยนาท

               แบงการปกครองเปน 8 อําเภอ คือ อําเภอเมือง อําเภอสรรคบุรี อําเภอสรรพยา อําเภอมโนรมย อําเภอวัดสิงห

               อําเภอหนองมะโมง อําเภอเนินขาม และอําเภอหันคา มีพื้นที่ติดตอกับจังหวัดนครสวรรค จังหวัดสุพรรณบุรี
               จังหวัดสิงหบุรี และจังหวัดอุทัยธานี

                       การทองเที่ยวที่สําคัญในจังหวัดชัยนาทอาจแบงกวางๆ ไดเปน 2 กลุมใหญ ไดแก การทองเที่ยวเชิง
               วัฒนธรรม (cultural tourism) และการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (ecotourism) กลุมแรกดวยทุนทางวัฒนธรรมที่มี

               อยูเดิม ทําใหจังหวัดชัยนาทเปนแหลงศึกษาเรียนรูดานประวัติศาสตรโบราณคดีที่สําคัญยิ่งของประเทศ เชน
               วัดมหาธาตุ วัดพระแกว อําเภอสรรคบุรี วัดพระบรมธาตุ วัดสองคบ อําเภอเมือง วัดทรงเสวย วัดปากคลอง

               มะขามเฒา อําเภอวัดสิงห เปนตน รวมถึงกลุมชาติพันธุลาวเวียงที่อําเภอเนินขามและลาวครั่งที่อําเภอ

               หนองมะโมง ที่เปนกลุมอพยพมาตั้งแตสมัยตนรัตนโกสินทรและยังคงสืบทอดวิถีอัตลักษณลาวที่โดดเดน
               ทั้งศิลปหัตกรรมผาทอและงานประเพณีของชุมชน กลุมที่ 2 ดวยทุนทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ ไดแก สภาพ

               ภูมิศาสตรที่มีแมน้ําสําคัญไหลผานถึง 3 สาย ไดแก แมน้ําเจาพระยา แมน้ํามะขามเฒา (แมน้ําทาจีน) และ

               แมน้ํานอย ทําใหจังหวัดชัยนาทกลายเปนพื้นที่ราบขนาดใหญ มีความอุดมสมบูรณ เหมาะแกการตั้งถิ่นฐาน
               การคมนาคม และการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปจจุบันจึงมีแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศหลายแหง เชน

               ศูนยวิจัยขาวชัยนาท โครงการพัฒนาพื้นที่ของมูลนิธิชัยพัฒนา สวนนกชัยนาท เขื่อนเจาพระยา เปนตน

               สอดรับกับการเปนแหลงทองเที่ยวตามรอย “ศาสตรพระราชา”
                       ในหนังสือประวัติศาสตรชัยนาท (2558: 16) สรุปใหเห็นตนทุนทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่จังหวัด

               ชัยนาทมีอยูและอาจสงเสริมใหเกิดการพัฒนาตอยอดไดในอนาคตวา “ความสมบูรณเรื่องทรัพยากรน้ําเปน
               ปจจัยพื้นฐานที่สนับสนุนใหจังหวัดชัยนาทเปนเมืองเกษตรสําคัญแหงหนึ่งของลุมแมน้ําภาคกลาง เปนเมือง

               เกษตรที่มีสภาพแวดลอมสะอาด ปราศจากมลพิษ เหมาะกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ สถานที่ทองเที่ยวใหมๆ

               เกิดขึ้นจากตนทุนจากธรรมชาติและวิถีทางวัฒนธรรมของจังหวัดชัยนาทที่มีอยูเดิม”
                       นาสนใจวา จังหวัดชัยนาทมีภูมิปญญาทองถิ่นหลากหลายประเภทที่มีศักยภาพในการนํามาใชสงเสริม

               และพัฒนาการทองเที่ยว เชน ภูมิปญญาอาหารลาวครั่งของกลุมชาติพันธุลาวครั่งในจังหวัดชัยนาทที่ได
               นําเสนอขั้นตอนการนําอัตลักษณอาหารลาวครั่งเขาสูกระบวนการยกระดับภูมิปญญาทองถิ่นสูการทองเที่ยว

               เชิงสรางสรรค โดยการอนุรักษ การฟนฟู การประยุกต การสรางใหม เพื่อสรางกิจกรรมใหมๆ สําหรับ

               นักทองเที่ยวที่จะชวยสงเสริมการทองเที่ยวในพื้นที่ (ญาณภา บุญประกอบ และคณะ, 2560: 94) ภูมิปญญา
               ดานประวัติศาสตร ดานศาสนา ซึ่งในปจจุบันเปนแหลงทองเที่ยวสําคัญของจังหวัดชัยนาท ในขณะเดียวกันมี

               แหลงทองเที่ยวเชิงเกษตรที่สรางจุดเดนโดยการนําภูมิปญญาขาวมาเปนปจจัยในการพัฒนาและสงเสริมการ

               ทองเที่ยวจังหวัดชัยนาท เนื่องจากจังหวัดชัยนาทเปนแหลงกําเนิดสินคาเกษตรหรือแหลงอารยธรรมทางเกษตร
               ที่เกาแก (ณักษ กุลิสร และคณะ, 2553) อยางไรก็ตามรูปแบบกิจกรรมการทองเที่ยวของชุมชนที่ผูกโยงกับ



                                                          2 - 3
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27