Page 23 -
P. 23

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               ภูมิปญญาทองถิ่นตางๆ ยังจํากัดอยูเพียงในบางพื้นที่และบางประเภทของภูมิปญญาเทานั้น นอกจากนี้ยังมี

               ภูมิปญญาทองถิ่นอีกมากที่สามารถนํามาเปนพัฒนาตอยอดเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวได เชน ภูมิปญญาทองถิ่น
               ที่เปนเรื่องเลา ตํานานพื้นบาน นิทานประจําถิ่นที่เกี่ยวกับความเปนมาของชุมชน เปนตนวาตํานานเมือง

               อูตะเภา ตํานานเขาสรรพยา ตํานานคุงสําเภา ตํานานเมืองสรรคบุรี เรื่องเลาเกี่ยวกับพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์

               เรื่องเลาเกี่ยวกับพระเกจิอาจารยศักดิ์สิทธิ์ เรื่องเลาเกี่ยวกับเหตุการณเมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
               เจาอยูหัวเสด็จประพาสตน เรื่องเลาทางประวัติศาสตร เรื่องเลาเกี่ยวกับวิถีเกษตรกรรม เรื่องเลาของกลุม

               ชาติพันธุ เปนตน หลายเรื่องเปนที่รูจักกันดีในชุมชน ขณะที่หลายเรื่องเริ่มเลือนหาย ขาดการสืบทอด
                       ดวยเหตุนี้คณะนักวิจัยจึงเห็นสมควรดําเนิน “โครงการวิจัยภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดชัยนาทกับการ

               สงเสริมการทองเที่ยวอยางยั่งยืนและการสรางคุณคาเพิ่มใหแกผลิตภัณฑชุมชน” ดวยเล็งเห็นวาองคความรู
               ภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดชัยนาทดานตางๆ ที่ไดจากงานวิจัยนี้ เชน วิถีเกษตรกรรม ศิลปวัฒนธรรม หัตถกรรม

               ประเพณีความเชื่อ และศิลปะที่ชุมชนมีอยูจะเปน “ทุนวัฒนธรรม” สําคัญที่ชวยสงเสริมการทองเที่ยวอยาง

               ยั่งยืนของจังหวัดชัยนาท ทั้งการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและการทองเที่ยวเชิงนิเวศ และสามารถนําไปพัฒนา
               ตอยอด “คุณคา” ใหแกผลิตภัณฑชุมชน อันจะเปนการสรางรายไดและอาชีพใหแกคนในชุมชนอยางยั่งยืน




               1.2 วัตถุประสงคของโครงการวิจัยยอย



                       1. เพื่อศึกษา คนหาและรวบรวมภูมิปญญาทองถิ่นในจังหวัดชัยนาท
                       2. เพื่อคัดสรรและวิเคราะหภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดชัยนาทที่สามารถนํามาประยุกตใชเพื่อสงเสริม

               การทองเที่ยวอยางยั่งยืนและสรางคุณคาเพิ่มใหแกผลิตภัณฑชุมชน
                       3. เพื่อประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดชัยนาทในการสงเสริมการทองเที่ยวอยางยั่งยืนและการ

               สรางคุณคาเพิ่มใหแกผลิตภัณฑชุมชน




               1.3 นิยามศัพทที่ใชในการวิจัย


                       1. ภูมิปญญาทองถิ่น หมายถึง ความรูของคนในทองถิ่น ซึ่งไดมาจากประสบการณและความริเริ่ม

               ของคนในทองถิ่น รวมทั้งความรูที่สั่งสมมาแตบรรพบุรุษ สืบทอดจากรุนสูรุน ระหวางการสืบทอดมีการปรับ
               ประยุกตและเปลี่ยนแปลง พัฒนา สูญสลายหายไปบางและเกิดใหมเปนความรูใหมตามยุคสมัย หรืออาจกลาว

               ไดวาภูมิปญญาทองถิ่นเปนการใชภูมิปญญาหรือความรูในทองถิ่นเพื่อการพัฒนาทองถิ่นซึ่งเปนความรูชุดใหม

               (เทิดชาย ชวยบํารุง, 2554: 40)





                                                          2 - 4
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28