Page 99 -
P. 99
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ในส่วนลูกค้าในประเทศ บริษัทจ้าหน่ายให้แก่บริษัททอผ้าคือบริษัท กรีนวิลล์ จ้ากัด
และเกษตรกรทอผ้า โดยเกษตรกรมักจะสั่งซื้อเส้นด้ายยืนเพื่อน้าไปใช้ในการทอผ้า
ส่วนลูกค้าต่างประเทศนั้นพบว่าเป็นการจัดจ้าหน่ายให้แก่ลูกค้าในประเทศญี่ปุ่น โดย
เป็นลูกค้าที่ท้าการค้าขายกันอยู่แล้วจ้านวน 2-3 ราย โดยมีการส่งจ้าหน่ายปีละ 2 ครั้ง ปริมาณ
จ้าหน่าย 500 กิโลกรัมต่อปี ราคาที่จ้าหน่ายประมาณ 1,800-2,000 บาท/กิโลกรัม โดยมีก้าไร
ประมาณร้อยละ 10
3.2.2 อุตสาหกรรมกลางน้้า
1) อุตสาหกรรมทอผ้า
การทอผ้าแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ เกษตรกร และโรงงานอุตสาหกรรม
1.1) กลุ่มเกษตรกรทอผ้า
เกษตรกรที่ท้าการทอผ้าไหมอีรี่นั้นมักจะเป็นเกษตรกรที่มีความเชี่ยวชาญในการทอ
ผ้า เนื่องจากต้องอาศัยทักษะและความช้านาญ ปัจจุบันมีเกษตรกรที่ท้าการทอผ้าไหมอีรี่ประมาณ
45 ราย และมีแนวโน้มที่จะลดลง เนื่องจากผู้ทอผ้าไหมในปัจจุบันมักจะเป็นผู้สูงอายุ
1.1.1) ด้านวัตถุดิบ
ในการทอผ้าจะมีการใช้เส้นด้าย 2 ชนิดคือ เส้นยืนและเส้นพุ่ง โดยเส้นพุ่ง
เกษตรกรจะรับซื้อเส้นด้ายไหมอีรี่จากเกษตรกรที่ท้าการปั่นด้าย หรือซื้อจากโรงงานปั่นด้าย เนื่องจาก
เส้นด้ายที่ได้จากโรงงานและจากเกษตรกรจะมีลักษณะแตกต่างกัน หากผู้ทอผ้าต้องการผ้าที่มีลักษณะ
เรียบลื่นจะใช้เส้นด้ายจากโรงงาน แต่ถ้าต้องการผืนผ้าที่มีลักษณะไม่เรียบ จะใช้เส้นด้ายที่มาจากการ
ปั่นมือ ส่วนเส้นยืนนั้นเกษตรกรจะต้องสั่งซื้อจากโรงงานเท่านั้น เนื่องจากเส้นที่ปั่นมือจะมีขนาดเส้น
ไม่ยาวพอ อย่างไรก็ตามพบว่าการสั่งซื้อเส้นยืนจากโรงงานมีปัญหาในเรื่องขนาดของเส้นที่ไม่มีขนาด
ตามที่ผู้ทอต้องการ
ปัญหาของด้านวัตถุดิบคือปริมาณเส้นด้ายมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ
เนื่องจากการปั่นด้ายต้องใช้ระยะเวลานานและมีผู้ปั่นจ้านวนไม่มากนัก ท้าให้ผู้ทอต้องรอวัตถุดิบ
เส้นด้ายปั่นมือมีคุณภาพไม่ดีคือมีลักษณะเส้นใหญ่ หงิกงอ ท้าให้ต้องน้าเส้นมา
ปั่นใหม่ให้เป็นเส้นตรง
1.1.2) ด้านการผลิต
เกษตรกรผู้ทอผ้าไหมอีรี่จะใช้เส้นด้าย 2 ชุดคือเส้นยืนซึ่งเป็นเส้นที่ขนานตามแนว
ยาว และเส้นพุ่งคือเส้นแนวหน้ากว้าง โดยใช้เครื่องมือในการทอคือหูกหรือกี่ โดยการน้าด้ายไหมอีรี่
หนักประมาณ 1.275 กิโลกรัมมาทอเป็นผืนจะได้ผ้าผืนทอมือหนักประมาณ 1.1475 กิโลกรัม
80