Page 42 -
P. 42

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                 บทที่  2 นโยบาย Bioeconomy

                   ตารางที่ 2.4 มาตรการที่สําคัญสําหรับการสํงเสริม Bioeconomy ในฝรั่งเศส (ตํอ)








































                      2.1.4 เยอรมนี
                          เยอรมนี มีนโยบาย Comprehensive  Bioeconomy  Strategy จัดวําเป็นหนึ่งในผู๎นําของ

                   โลกทางนโยบาย Bioeconomy  ในปี 2552 มีการจัดตั้งคณะกรรมการผู๎เชี่ยวชาญอิสระ (German

                   Bioeconomy  Council) ซึ่งมีบทบาทสําคัญในการสนับสนุนเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ โดยมีการ

                   จัดทําแผนปฏิบัติการในการใช๎ทรัพยากรหมุนเวียนสําหรับวัสดุและการผลิตพลังงาน (2552/2553)
                   แผนการดําเนินการเกี่ยวกับพลังงานทดแทน (2553) และกลยุทธ๑การปุาไม๎ 2563 (2554)

                          กลยุทธ๑การวิจัย Bioeconomy  แหํงชาติได๎รับการพัฒนาภายใต๎ความรับผิดชอบของ

                   กระทรวงการศึกษาและการวิจัย (The Federal Ministry for Education and Research; BMBF)

                   กลยุทธ๑นโยบาย Bioeconomy  เกิดจากความรํวมมือระหวํางกระทรวงเพื่ออาหารและการเกษตร
                   (The Federal Ministry for Food and Agriculture ; BMEL), BMBF, กระทรวงเศรษฐกิจและ

                   พลังงาน (The  Federal  Ministry  of  Economics  and  Energy  ;  BMWI),  กระทรวงเพื่อความ

                   รํวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (The Federal Ministry for Economic Cooperation and

                   Development ; BMZ), กระทรวงของรัฐบาลกลางสําหรับสภาพแวดล๎อมการอนุรักษ๑ธรรมชาติและ
                   ความปลอดภัยนิวเคลียร๑ (The Federal Ministry for the Environment, Nature Conservation

                   and Nuclear Safety; BMUB),  กระทรวงมหาดไทย (The Federal Ministry of the  Interior;

                   BMI) และสํานักงานตํางประเทศ (The Foreign Office; AA)


                                                            22
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47