Page 45 -
P. 45
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 2 นโยบาย Bioeconomy
ตารางที่ 2.5 มาตรการที่สําคัญสําหรับการสํงเสริม Bioeconomy ในเยอรมนี (ตํอ)
2.1.5 สหราชอาณาจักร
สหราชอาณาจักร มีนโยบาย Unleashing High-Value Potential ไมํได๎มีกลยุทธ๑
Bioeconomy ที่เฉพาะเจาะจง อยํางไรก็ตาม ทิศทางของ Bioeconomy ยังคงเห็นได๎จากเอกสาร
กลยุทธ๑อื่นๆ และจากการที่การเกษตรเป็นที่นํากังวล ทําให๎ The Natural Environment White
Paper (NEWP) ถูกตีพิมพ๑ในปี 2554 เพื่อวางวิสัยทัศน๑เกี่ยวกับการเกษตรอยํางยั่งยืนสําหรับ 50 ปี
ข๎างหน๎า จากวิสัยทัศน๑นี้ทําให๎เกิดโครงการ “Green Food” เพื่อให๎เกิดการตระหนักเกี่ยวกับภาค
เกษตรและหํวงโซํอาหารอยํางจริงจัง สหราชอาณาจักรได๎มีการเผยแพรํนวัตกรรมกลยุทธ๑ทางปุาไม๎ใน
ปี 2557 โดยมีจุดมุํงหมายของกลยุทธ๑ คือการเสริมสร๎างระบบนิเวศและ Resilience ของปุาไม๎ที่
นําไปสูํการพัฒนาอยํางยั่งยืนและอุตสาหกรรมไม๎แบบ Low-Carbon สําหรับการวิจัยทางทะเล มี
จุดมุํงหมายของนโยบายที่คล๎ายกัน โดยได๎กําหนดไว๎ในยุทธศาสตร๑วิทยาศาสตร๑ทางทะเล 2553-2558
จากการรํางกลยุทธ๑ชีวมวล (Biomass Strategy) ในปี 2550 สํงผลให๎ในปี 2555 กลยุทธ๑
พลังงานชีวภาพถูกนํามาใช๎ โดยเน๎นการใช๎วัสดุเหลือใช๎ตํางๆ และพืชพลังงานยืนต๎น กลยุทธ๑แรก
สําหรับเทคโนโลยีการเกษตร (Agri-tech Industrial Strategy) ถูกรํางขึ้นในปี 2556 โดยมุํง
เปูาหมายไปที่การถํายทอดเทคโนโลยี การค๎าของสินค๎าเกษตรและการวิจัยปุาไม๎ กลยุทธ๑การผลิตที่มี
มูลคําสูงถูกกําหนดขึ้นในปี 2555 เป็นกลยุทธ๑ใหมํที่มุํงด๎านการค๎าของเทคโนโลยีนวัตกรรมสําหรับ
25