Page 38 -
P. 38

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                 บทที่  2 นโยบาย Bioeconomy

                          2)  การประสานงานนโยบายกับผู๎มีสํวนได๎และเสีย  จากกลยุทธ๑ทางด๎าน Bioeconomy

                   เพื่อให๎แนํใจวํามีการเชื่อมโยงทางด๎านนโยบายในสหภาพยุโรป จึงได๎มีการจัดตั้งคณะกรรมการ

                   ผู๎เชี่ยวชาญ Bioeconomy ขึ้นในปี 2556 เพื่อที่จะให๎คําปรึกษาด๎านนโยบาย สําหรับภาคสํวนตํางๆ

                   โดยมีกําหนดระยะทํางานเป็นระยะเวลาสองปี การประสานงานของกองทุนวิจัยสาธารณะ
                   Bioeconomy      ของสหภาพยุโรปมีการปรับปรุงอยํางตํอเนื่องด๎วยความชํวยเหลือจากกลุํม

                   “Bioeconomy  ERA-NET  Actions” และมีการระดมความคิดของประเทศสมาชิกเพื่อมีการ

                   วางรากฐานและเขียนนโยบายรํวมกัน

                          3) การพัฒนาตลาด ปรับปรุงหํวงโซํอุปทาน    ความปลอดภัยอาหาร รวมถึงการคุ๎มครอง
                   สิ่งแวดล๎อมและสภาพภูมิอากาศ กิจกรรมการสนับสนุนสํวนใหญํเกี่ยวข๎องกับการวิจัย มาตรฐานและ

                   การประสานงานของกิจกรรมการดําเนินงานตํางๆ ที่เกี่ยวข๎องในยุโรป โดยมีคณะกรรมการมาตรฐาน

                   (CEN)  เป็นผู๎ดําเนินการ เชํน การพัฒนาวิธีการวัดและมาตรฐานตํางๆ ที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ๑ชีวภาพ

                   รวมถึงการกําหนดปูายชื่อสําหรับการสื่อสารที่บอกลักษณะผลิตภัณฑ๑เพื่อผู๎บริโภค ด๎วยความรํวมมือ
                   นวัตกรรมยุโรปเพื่อการเกษตรจึงได๎มีการจัดตั้ง “Operational Groups” ขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวก

                   ในการสื่อสาร การถํายทอดความรู๎ในด๎านการเกษตรและการปุาไม๎ นอกจากนี้ยังได๎รับเงินทุน

                   สนับสนุนจากจาก Horizon  2020 เพื่อสํงเสริมให๎เกิดการทํางานของ “Operational  Groups”

                   โดยเฉพาะอยํางยิ่ง ในการพัฒนาผลิตภัณฑ๑ใหมํ วิธีการกระบวนการและเทคโนโลยีในด๎านการเกษตร
                   ปุาไม๎และอุตสาหกรรมอาหาร นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งโครงการนํารํองตํางๆ เชํน การปรับปรุงหํวงโซํ

                   อุปทานอาหาร การรักษาความปลอดภัยของสภาพภูมิอากาศหรือการปูองกันสิ่งแวดล๎อม ฯลฯ โดย

                   กลยุทธ๑ Bioeconomy  และความรํวมมือทางนวัตกรรมของสหภาพยุโรป มีการวางกลยุทธ๑ไปถึงปี

                   2563  การสํงเสริมทางด๎าน Bioeconomy  ของสหภาพยุโรปในอนาคตจะเน๎นไปทางการเสริมสร๎าง
                   ความสามารถในการแขํงขันและนวัตกรรมของประเทศสมาชิก และนําไปสูํการเปลี่ยนแปลง

                   อุตสาหกรรมอยํางยั่งยืนในกลุํมประเทศยุโรป (Reindustrialization)  นอกจากนี้สหภาพยุโรปยังให๎

                   ความสําคัญเกี่ยวกับ Multi-disciplinarity  และรูปแบบความรํวมมือทางนวัตกรรมใหมํระหวําง

                   ภาคเอกชนและภาครัฐ การสนับสนุนโปรแกรม Bioeconomy  ควรจะมีสํวนชํวยในการปฏิรูป
                   การศึกษาและระบบการฝึกอบรม












                                                            18
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43