Page 43 -
P. 43

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                 บทที่  2 นโยบาย Bioeconomy

                          โดยแผนดําเนินการเกี่ยวกับการใช๎ทรัพยากรหมุนเวียนสําหรับวัสดุและการผลิตพลังงานและ

                   กลยุทธ๑ทางการใช๎ประโยชน๑จากปุาไม๎  ถูกออกโดย BMEL   และแผนดําเนินการเกี่ยวกับพลังงาน

                   ทดแทนได๎รับการพัฒนาโดยกระทรวงเศรษฐกิจและพลังงาน

                          กลยุทธ๑การวิจัยแหํงชาติ (The  National  Research  Strategy  2010;  NFS) ได๎รับทุน
                   สนับสนุน 2.4 พันล๎านยูโร โดยมีวัตถุประสงค๑หลักเพื่อเสริมสร๎างความสามารถในการสร๎างสรรค๑

                   นวัตกรรมขององค๑กรด๎านการวิจัยและธุรกิจ โปรแกรมตํางๆ ที่ได๎รับทุนภายใต๎ NFS  ยกตัวอยํางเชํน

                   โปรแกรมทรัพยากรทดแทน  BonaRes  (ที่ดิน),  GlobE  (ความมั่นคงด๎านอาหารของโลก),  IPAS

                   (ปรับปรุงพันธุ๑พืช), DPPN (plant phenotyping),  ANIHWA (สุขภาพสัตว๑) และการวิจัยขั้นพื้นฐาน
                   สําหรับเทคโนโลยีชีวภาพ และพลังงานชีวภาพ มาตรการการสนับสนุนนี้ สํงเสริมให๎มีการรวมตัวของ

                   พันธมิตรระหวํางชุมชนวิทยาศาสตร๑ ผู๎ประกอบการ SMEs และผู๎ประกอบการอุตสาหกรรมขนาดใหญํ

                   จากภาคสํวนตํางๆ โดยมีจุดประสงค๑เพื่อสร๎างหํวงโซํมูลคําทางด๎าน Bioeconomy  ขึ้นใหมํ เชํน โรง

                   กลั่นลิกโนเซลลูโลสของคลัสเตอร๑ Bioeconomy ในเมือง Leuna ได๎รับการสนับสนุนในการปรับปรุง
                   โรงกลั่นถึง 40 ล๎านยูโร

                          การพัฒนาสําหรับสาธิตและโรงงานต๎นแบบ ได๎การสนับสนุนจากหลายกระทรวงของรัฐบาล

                   กลางและการปกครองสํวนภูมิภาค ตัวอยํางเชํน โรงงานผลิตเอทานอลรุํนที่สองในเมือง Straubing,

                   โรงงาน Recycling  Biogenic  Waste  ในเมือง Karlsruhe  และโรงกลั่นน้ํามันก๏าดจากสาหรํายใน
                   เมือง Jülich

                          กลยุทธ๑ด๎านนโยบายครอบคลุมการประยุกต๑ใช๎อยํางกว๎างขว๎างตลอดหํวงโซํคุณคําของ

                   Bioeconomy ทั้งหมด รวมถึงมีนโยบายทางการเมืองเฉพาะเพื่อสํงเสริม Bioeconomy โดยคํานึงถึง

                   ความขัดแย๎งทางผลประโยชน๑ กลยุทธ๑ด๎านนโยบายนี้อธิบายถึงรูปแบบการระดมทุนเพื่อการวิจัยและ
                   การพัฒนาเกี่ยวกับทรัพยากรหมุนเวียน อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ และวิทยาศาสตร๑การเกษตร

                   รวมถึงการถํายโอนเทคโนโลยี ตํอมาภายหลัง ยังมีการสนับสนุนธุรกิจในกลุํม Start-ups  และโรงงาน

                   ต๎นแบบ อีกด๎วย ยกตัวอยํางเชํน การพัฒนาการศึกษาและการฝึกอบรม และการมีสํวนรํวมที่เพิ่ม

                   ขึ้นกับภาคองค๑กรของพนักงานในกลุํม Bioeconomy ซึ่งถือวําเป็นสิ่งจําเป็นทางกลยุทธ๑
                          สําหรับแผนการวิจัยที่อยูํภายใต๎ความรับผิดชอบของ สภาวิจัยแหํงชาติ (The  National

                   Research) ซึ่งเป็นหนํวยงานที่มีหน๎าที่รํางแผนนโยบายและติดตามผลการดําเนินงาน ซึ่งในปัจจุบัน

                   แผนนโยบายถูกวางไปจนถึงปี 2559      กลยุทธ๑การวิจัยมุํงเน๎นไปที่การสร๎างสรรค๑นวัตกรรมในห๎า

                   กลุํมเปูาหมาย คือ 1. การรักษาความปลอดภัยอาหารทั่วโลก 2. การผลิตทางการเกษตรอยํางยั่งยืน 3.
                   สุขภาพและความปลอดภัยทางโภชนาการ 4. การใช๎ทรัพยากรหมุนเวียนในระดับอุตสาหกรรม และ

                   5.    การใช๎พลังงานชีวภาพอยํางยั่งยืน โดยการผลิตอยํางยั่งยืนของทรัพยากรหมุนเวียนและ





                                                            23
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48