Page 35 -
P. 35
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 2 นโยบาย Bioeconomy
สมาชิก ชื่อยุทธศาสตร์ หน่วยงานรับผิดชอบ Key Funding Areas
หลัก
สหรัฐอเมริกา Bioeconomy White House, USDA Life Sciences
Blueprint, Farm (Biomedicine), Agriculture
Bill (multiple areas)
อยํางไรก็ดี ในรายงานนี้ยังได๎รวมถึงการวิเคราะห๑ปัจจัยที่มีผลกระทบตํอการวางแผนนโยบาย
ปัจจัยที่ควรคํานึงถึงในการรํางนโยบายทางด๎าน Bioeconomy และกลําวถึงนโยบายทางด๎าน
Bioeconomy ของประเทศไทย รวมถึงเปรียบเทียบความเป็นไปได๎ และข๎อดี ข๎อเสีย เมื่อ
เปรียบเทียบกับตํางประเทศ
2.1 นโยบายทางด้าน Bioeconomy ของประเทศต่างๆในกลุ่ม G7
2.1.1 แคนาดา
ประเทศแคนาดา มีนโยบาย Resource Wealth as Leverage for Growth แตํยังไมํมี
ยุทธศาสตร๑นโยบายทาง Bioeconomy ที่เฉพาะเจาะจง แตํอยํางไรก็ตาม มีหลายนโยบายที่มีความ
เกี่ยวข๎องและสอดคล๎องกับการพัฒนาทางทรัพยากรชีวภาพ เชํน
- ปี 2549 มีการกําหนดกลยุทธ๑สําหรับพลังงานทดแทนซึ่งทรัพยากรไม๎ที่เป็นวัตถุดิบสําคัญ
- ปี 2552 “Blueprint beyond Moose and Mountains” เป็นยุทธศาสตร๑ที่ถูกกําหนดขึ้น
โดยสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแหํงชาติ BioteCanada
- ปี 2556-2561 มีการกําหนดกลยุทธ๑ทางการเกษตร “Growing Forward 2” ซึ่งเป็นการ
กําหนดนโยบายทางการเกษตรของประเทศแคนาดา โดยมีการลงทุนรวมทั้งสิ้นใน CAD
จํานวน 3 พันล๎านยูโร สําหรับพัฒนานวัตกรรมที่มีศักยภาพ การแขํงขัน และการตลาด รัฐบาล
แคนาดาคาดหวังวํา การใช๎เทคโนโลยีชีวภาพในด๎านการเกษตรและปุาไม๎ จะชํวยให๎เกิดการใช๎
ประโยชน๑สูงสุดของทรัพยากร ดังนั้นการเพาะปลูกในเชิงพาณิชย๑ของพืชดัดแปลงพันธุกรรมจึง
ได๎รับการยอมรับมากขึ้นเมื่อเทียบกับในชํวงเริ่มต๎น
อยํางไรก็ตามมีนโยบายการเมืองหลายอันที่เกี่ยวข๎องกับ Bioeconomy ยกตัวอยํางเชํน ในปี
2554 รัฐบาลบริติชโคลัมเบียได๎แตํงตั้งสภา Bioeconomy ภายใต๎ความรับผิดชอบของกระทรวง
แรงงาน, การทํองเที่ยวและนวัตกรรม จังหวัดที่จะมุํงเน๎นหลักในการใช๎ประโยชน๑จากปุาใหญํและ
ทรัพยากรทางการเกษตรที่จะให๎พลังงานชีวภาพ และรัฐอัลเบอร๑ต๎า คือหนึ่งในจังหวัดทางการเกษตรที่
แข็งแกรํงที่สุดในแคนาดา และถูกจัดวําเป็นธนาคาร Bioeconomy อีกด๎วย โดยนอกเหนือจาก
15