Page 33 -
P. 33
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 2 นโยบาย Bioeconomy
บทที่ 2 นโยบาย Bioeconomy
การที่จะสามารถวางโครงรําง วิเคราะห๑และประเมินนโยบายทาง Bioeconomy ของ
ประเทศไทยได๎นั้น จําเป็นต๎องมีการศึกษาเกี่ยวกับวิเคราะห๑นโยบายทาง Bioeconomy ในกลุํม
ประเทศตํางๆ ทั่วโลก โดยผู๎นําทางด๎าน Bioeconomy ที่มีหลักการที่ชัดเจนและมีความก๎าวหน๎าใน
การใช๎นโยบายทาง Bioeconomy แกํเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ ได๎แกํ กลุํมประเทศ G7 ซึ่งเป็นกลุํม
ประเทศที่มีสํวนแบํงการตลาดขนาดใหญํเมื่อเทียบกับเศรษฐกิจโลก ซึ่งปัจจัยหลายประการ เชํน
องค๑ประกอบของนวัตกรรม เศรษฐกิจ และการเมือง เป็นสิ่งสําคัญที่เป็นตัวชํวยกําหนดนโยบาย สํวน
ใหญํเกี่ยวข๎องกับมาตรการในการสํงเสริมนวัตกรรม เทคโนโลยี และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เพื่อให๎เกิดการพัฒนาอยํางยั่งยืนของระบบนิเวศและทรัพยากรอยํางมีประสิทธิภาพ
ในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันวํา นวัตกรรมทางการเกษตรได๎กลายเป็นสิ่งสําคัญที่เป็นตัวผลักดัน
ความก๎าวหน๎าทางอุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพสามารถใช๎ประโยชน๑ได๎หลากหลาย เชํน ในการ
ผลิตเคมีภัณฑ๑ขั้นมูลฐานจนถึงการผลิตวัสดุนวัตกรรม เชํน พลาสติกชีวภาพหรือเส๎นใยคาร๑บอน
ชีวภาพ นอกจากนี้ยังมีการใช๎ก๏าซคาร๑บอนไดออกไซด๑ในอากาศ จุลินทรีย๑ และของเสียทางชีวภาพ
เป็นสารตั้งต๎นสําหรับการผลิตเชื้อเพลิงและสินค๎าโภคภัณฑ๑พื้นฐาน
อยํางไรก็ดี แตํละประเทศในกลุํม G7 ยังมีความแตกตํางทางนโยบายขั้นพื้นฐานของ
Bioeconomy ในกลุํมของสมาชิก G7 เอง เชํน สหรัฐอเมริกา เยอรมนี หรือญี่ปุุน ได๎มีการพัฒนา
กลยุทธ๑กับรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการที่จะสํงเสริมให๎เกิดการใช๎งานของชีวมวลและชีววิทยาศาสตร๑
เพื่อวัตถุประสงค๑ที่แตกตํางกัน ประเทศอื่น ๆ เชํน อิตาลี หรือแคนาดา พยายามที่จะใช๎ประโยชน๑
จากภาคเอกชนที่มีอยูํเพื่อเป็นตัวผลักดันให๎เกิดการวิจัยที่สามารถกํอให๎เกิดประโยชน๑รํวมกันได๎
ประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติน๎อย เชํน เยอรมนี ญี่ปุุน ฝรั่งเศส และอิตาลี มักจะมุํงเน๎นไปที่
ภาคอุตสาหกรรม และพยายามเป็นผู๎นําด๎านเทคโนโลยี สหราชอาณาจักรพยายามที่จะสํงเสริมและ
พัฒนาทางด๎านชีววิทยาศาสตร๑เพื่อใช๎ในอุตสาหกรรมที่มีมูลคําสูง สหรัฐอเมริกาได๎มีการพัฒนากลยุทธ๑
Bioeconomy โดยมีเปูาหมายในการเป็นผู๎นําด๎านเทคโนโลยีและการตลาดในการพัฒนาใน
อุตสาหกรรมชีวภาพ นอกจากนี้สหรัฐอเมริกาและแคนาดายังจัดวําเป็นประเทศที่มีทรัพยากรอุดม
สมบูรณ๑ จึงมีการจัดตั้งกองทุนเพื่อสํงเสริมกิจกรรมนวัตกรรมในเบื้องต๎น เพื่อชํวยขับเคลื่อนการผลิต
ในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งภาพรวมของนโยบายทางด๎าน Bioeconomy ในกลุํมประเทศ G7 และ
สหภาพยุโรป (Patrick Dieckhoff, 2015) ดังแสดงในตารางที่ 2.1
13