Page 46 -
P. 46
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 2 นโยบาย Bioeconomy
อุตสาหกรรม โดยการสํงเสริมอุตสาหกรรมยังรวมถึงโครงการที่เกี่ยวข๎องกับการพัฒนาเชื้อเพลิง
ชีวภาพ พลาสติกชีวภาพ วัสดุและอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพอีกด๎วย นอกจากนี้ตามยุทธศาสตร๑
ปี 2557-2558 แผนของสํานักงานนวัตกรรมแหํงสหราชอาณาจักร (Technology Strategy Board,
หรือ InnovateUK 2014) ได๎กําหนดอยํางชัดเจนวํา Agricultural Sciences, Biosciences และ
Advanced Material Sciences เป็นอุตสาหกรรมที่มีมูลคําสูงสําหรับหํวงโซํอาหาร และสําหรับการ
ใช๎ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ
กลยุทธ๑พลังงานชีวภาพ 2555 ได๎รับการพัฒนาและเผยแพรํโดยกระทรวงพลังงานและการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (The Department of Energy & Climate Change;
DECC) กรมสิ่งแวดล๎อม อาหารและกิจการชนบท (The Department for Environment, Food
and Rural Affairs; Defra) และกรมเพื่อการขนสํง (The Department for Transport; DfT) และ
กลยุทธ๑ Agri-Tech 2013 ได๎ถูกคิดค๎นโดยกรมธุรกิจนวัตกรรมและทักษะ (The Department for
Business, Innovation & Skills) การที่กรมสิ่งแวดล๎อมอาหารและกิจการชนบท (The
Department for Environment, Food & Rural Affairs) และกรมพัฒนานานาชาติ (The
Department for International Development)
กิจกรรม R & D จํานวนมากของ Bioeconomy ในสาขาชีววิทยาศาสตร๑ได๎รับทุนจาก
กระทรวงมหาวิทยาลัยและกระทรวงวิทยาศาสตร๑ เพื่อที่จะสนับสนุนกิจกรรมทางอุตสาหกรรม
เทคโนโลยีชีวภาพ รัฐบาลได๎มีการกํอตั้งโรงงานต๎นแบบ ตามคําแนะนํา “Industrial Biotechnology
Innovation and Growth Teams” ในปี 2552 นอกจากนี้การเกษตรกรรม (sustainable
intensification, food security and industrial raw materials), พลังงานชีวภาพและ
อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ ถูกระบุวําเป็นธีมที่สําคัญของ Bioeconomy ใน The BBSRC‖s
2013/14 strategic ยกตัวอยํางเชํน BBSRC ให๎ทุนแกํหนํวยวิจัยพลังงานชีวภาพอยํางยั่งยืน ซึ่งเป็น
ความรํวมมือระหวํางสถาบันการวิจัยทางวิชาการถึง 25 ล๎านปอนด๑ เป็นเวลาห๎าปี สโมสรวิจัยที่
เกี่ยวกับ biorefineries แบบบูรณาการ และการประมวลผลชีวภาพ ยังได๎รับการสนับสนุนตั้งแตํปี
2551 สํานักงานนวัตกรรมการวิจัยและพัฒนาได๎รับเงินทุนวิจัยในด๎านของพลังงานทดแทน และ
อุตสาหกรรมวัตถุดิบชีวภาพ
หนํวยทุนวิจัยที่เกี่ยวกับอาหารหลักของสหราชอาณาจักรทํางานรํวมกับ The Global Food
Security Programme โดยมีวัตถุประสงค๑เพื่อความยั่งยืนทางด๎านอาหาร เพื่อสุขภาพและความ
ปลอดภัยของอาหารสําหรับประชากรโลก ซึ่งโปรแกรมนี้เป็นสหวิทยาการที่มุํงเน๎นความมั่นคงด๎าน
อาหารตลอดหํวงโซํอุปทานอาหารในสหราชอาณาจักร และโปรแกรมนี้ยังถือวําเป็นการแก๎ปัญหา
ความหิวโหยและความยากจน ในระดับโลกอีกด๎วย ปัญหา Bioeconomy ทั่วโลกยังถูกให๎ความสนใจ
โดยกองทุนวิทยาศาสตร๑และนวัตกรรม (Newton Fund) ที่เพิ่งตั้งขึ้นโดยสหราชอาณาจักรเป็น
26