Page 22 -
P. 22
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 1 บทนํา
การสูญเสียที่ดินทํากิน การอพยพย๎ายถิ่นจากชนบทสูํเมือง เป็นต๎น รวมถึงการสร๎างแรงกดดันด๎าน
อื่นๆ ที่ตามมาในอนาคต
ถึงแม๎รัฐบาลไทย จะมีแนวนโยบายให๎การสนับสนุนเกษตรกรขนาดเล็กและเกษตรกรที่ทํา
การเกษตรในทุกด๎านตั้งแตํการจัดการพื้นที่ การจัดหาเครื่องจักรกล รวมถึงสนับสนุนการใช๎นวัตกรรม
ในการขับเคลื่อนไปสูํแนวทางของความต๎องการใหมํในสินค๎าและบริการทางการเกษตรที่จะมีการ
พัฒนามากขึ้นแตํก็ไมํเป็นผลเทําที่ควร
ดังนั้นเพื่อสร๎างความรู๎ความเข๎าใจในมิติตํางๆ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการใช๎และการเข๎าถึง
ทรัพยากรการเกษตร เกิดความยั่งยืนในการใช๎ทรัพยากรฐานราก เชํน ที่ดิน แหลํงน้ํา เป็นต๎น การ
พึ่งพิงทรัพยากรเชิงอนุรักษ๑ในประเด็นเชิงมิติตํางๆ เชํน มิติของการจัดการ มิติของการสร๎างความ
หลากหลายทางชีวภาพ มิติเรื่องความมั่นคงทางอาหาร มิติของความไมํเป็นธรรมในการใช๎ทรัพยากร
ในภาคการเกษตร การศึกษาสถานภาพและแนวทางในการวิจัยเพื่อเตรียมความพร๎อมเข๎าสูํระบบ
เศรษฐกิจใหมํที่จะขับเคลื่อนด๎วยชีวมวล ซึ่งได๎มาจากการเกษตรเป็นหลัก จะเป็นกลไกสําคัญในการ
แก๎ปัญหาที่ประเทศไทยกําลังเผชิญอยูํในปัจจุบัน ไมํวําจะเป็นด๎านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ความมั่นคงด๎านอาหารและพลังงาน การพัฒนาด๎านสาธารณสุข การ
ผลิตจากการใช๎ทรัพยากรฐานรากอยํางยั่งยืน รวมถึงสํงผลตํอการเกิดอุตสาหกรรมใหมํๆ ที่เกี่ยวข๎อง
และขยายโอกาสในการจ๎างงาน ซึ่งตัวจักรสําคัญในเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพแบํงออกเป็น 2 สํวนคือ
1) อุตสาหกรรมอาหาร และ 2) อุตสาหกรรมที่ไมํใชํอาหาร ดังแสดงในภาพที่ 1.2
2