Page 27 -
P. 27

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                       บทที่  1 บทนํา

                              และแบํงออกเป็น 4 สาขายุทธศาสตร๑หลัก ดังตํอไปนี้

                         1) ยุทธศาสตร๑ด๎านเกษตรและอาหาร เพื่อยกระดับความสามารถในการแขํงขัน เสริมสร๎าง

                            ความเข๎มแข็งของเกษตรกรอยํางยั่งยืนโดยใช๎เทคโนโลยีชีวภาพ ลดต๎นทุน เพิ่มคุณภาพ

                            ผลผลิต และพัฒนานวัตกรรมด๎านเกษตรและอาหาร
                         2) ยุทธศาสตร๑ด๎านการแพทย๑และสุขภาพ เพื่อเสริมสร๎างสุขภาพที่ดี เพิ่มการพึ่งพาตนเองและ

                            ความสามารถในการแขํงขันในสาขาที่มีศักยภาพโดยใช๎เทคโนโลยีชีวภาพ

                         3) ยุทธศาสตร๑ด๎านพลังงานชีวมวล เพื่อเพิ่มความมั่นคงด๎านพลังงานด๎วยการใช๎

                            เทคโนโลยีชีวภาพพัฒนาพลังงานทางเลือกที่ไมํกํอปัญหาการแยํงชิงพืชอาหารในอนาคต
                         4) ยุทธศาสตร๑ด๎านอุตสาหกรรมชีวภาพ (เน๎น Biological  catalyst  and  enzyme) พัฒนา

                            ความสามารถของอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรตํอสิ่งแวดล๎อมโดยใช๎เทคโนโลยีชีวภาพ พัฒนา

                            กระบวนการผลิตและสร๎างนวัตกรรมที่ประเทศไทยมีความได๎เปรียบ

                          จะเห็นได๎วํากรอบนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทยตั้งแตํปี พ.ศ. 2547
                   ถึง พ.ศ. 2564 ที่ใช๎ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพของไทยตั้งแตํอดีตไปจนถึงชํวง 5 ปีใน

                   อนาคตนับจากนี้ไป มุํงเน๎นการพัฒนาในอุตสาหกรรมกรรมอาหาร และพลังงาน ดังนั้นเพื่อเพิ่มขีด

                   ความสามารถทางการแขํงขันด๎านวิทยาศาสตร๑และเทคโนโลยี การยกระดับรายได๎และคุณภาพชีวิต

                   ของประชาชนให๎มากขึ้น มุํงสูํการพัฒนาที่เข๎มแข็ง มั่งคั่ง และยั่งยืน จําเป็นต๎องมีการศึกษาและพัฒนา
                   อุตสาหกรรมที่ไมํใชํอาหารอื่นๆ ที่ไมํใชํพลังงานควบคูํกันไปด๎วย เนื่องจากกลไกในการขับเคลื่อน

                   เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพจะต๎องประกอบด๎วย 2  อุตสาหกรรมหลัก คืออุตสาหกรรมอาหาร และ

                   อุตสาหกรรมที่ไมํใชํอาหาร ซึ่งการทําให๎ทั้ง 2 สํวนนี้อยูํในความสมดุลจึงเป็นความท๎าทายหนึ่งที่ระบบ

                   เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพต๎องเผชิญ ซี่งในบริบทของประเทศไทยอุตสาหกรรมอาหารได๎มีการศึกษา
                   และพัฒนามาเป็นระยะอันยาวนาน ดังนั้นการศึกษาวิจัยสถานภาพปัจจุบันและทิศทางในอนาคตของ

                   ด๎านงานวิจัยภายใต๎หลักการเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพสําหรับอุตสาหกรรมที่ไมํใชํอาหาร จึงมีความ

                   จําเป็นเพื่อใช๎ในการวางกรอบนโยบายเพื่อเพิ่มทางเลือกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย และกํอให๎เกิด

                   ดุลยภาพในอุตสาหกรรมระหวํางอุตสาหกรรมอาหารและไมํใชํอาหาร ทําให๎ประเทศไทยสามารถหลุด
                   พ๎นจากกับดักรายได๎ปานกลาง



                         1.3 วัตถุประสงค์ของโครงการ

                         1) ศึกษาสถานภาพปัจจุบันของงานวิจัยทั้งในประเทศและตํางประเทศภายใต๎หลักการ
                            เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ

                         2) ศึกษา สังเคราะห๑ และนําเสนอแนวทางงานวิจัยในอนาคตเบื้องต๎นภายใต๎หลักการเศรษฐกิจ

                            จากฐานชีวภาพสําหรับประเทศไทย



                                                            7
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32