Page 26 -
P. 26

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                       บทที่  1 บทนํา

                          สําหรับการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพของประเทศไทย รัฐบาลไทยได๎กําหนดกรอบ

                   นโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทย พ.ศ. 2547 – 2554 จัดทําขึ้นจากความรํวมมือ

                   ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติและสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร๑

                   และเทคโนโลยีแหํงชาติ (สวทช.) โดยศูนย๑พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหํงชาติ (ศช.) โดยใน
                   แผนดังกลําวมีการกําหนดเปูาหมายการพัฒนาไว๎ 6 เปูาประสงค๑ ดังนี้

                          1) ธุรกิจชีวภาพสมัยใหมํเกิดและพัฒนา

                          2) ใช๎เทคโนโลยีชีวภาพชํวยให๎ประเทศไทยเป็นครัวของโลก

                          3) ประเทศไทยมีสังคมที่มีสุขภาพดีและเป็นศูนย๑กลางสุขภาพแหํงเอเชีย
                          4) ใช๎เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อรักษาสิ่งแวดล๎อมและผลิตพลังงานสะอาด

                          5) ใช๎เทคโนโลยีชีวภาพเป็นปัจจัยสําคัญของเศรษฐกิจพอเพียง

                          6) พัฒนาระบบการสร๎างกําลังคนที่มีคุณภาพ

                          หลังจากนั้นรัฐบาลได๎มอบหมายให๎สํานักงานคณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนา
                   วิทยาศาสตร๑ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหํงชาติ (สวทน.) รํวมกับศูนย๑พันธุวิศวกรรมและ

                   เทคโนโลยีชีวภาพแหํงชาติสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร๑และเทคโนโลยีแหํงชาติ (สวทช.) ดําเนินการ

                   จัดทํากรอบนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทย (พ.ศ. 2555-2564) ซึ่งสอดคล๎อง

                   กับนโยบายและแผนวิทยาศาสตร๑ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหํงชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555-2564) โดย
                   มุํงหวังให๎เทคโนโลยีชีวภาพเป็นปัจจัยสําคัญในการสร๎างความสามารถทางเศรษฐกิจของประเทศ

                   สร๎างความมั่นคงทั้งในด๎านพลังงาน อาหาร และสุขภาพ ซึ่งจะสํงผลตํอการพัฒนาอยํางยั่งยืนของ

                   เศรษฐกิจและสังคม โดยในกรอบนโยบายนี้ได๎กําหนด

                         1) เพิ่มขีดความสามารถในการแขํงขันในสาขาที่ประเทศไทยมีความได๎เปรียบหรือศักยภาพสูง
                            รวมถึงขีดความสามารถด๎านวิทยาศาสตร๑และเทคโนโลยีของประเทศ

                         2) ยกระดับรายได๎ของประชาชน โดยการสร๎างงานในพื้นที่เพื่อนําไปสูํการลดความยากจนและ

                            ความเหลื่อมล้ําทางรายได๎อยํางยั่งยืน

                         3) ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเน๎นให๎ชุมชนมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ มีชีวิตอยูํ
                            ในสังคมและสภาพแวดล๎อมที่ดี มีสุขภาพที่แข็งแรง มีความรู๎สําหรับเป็นภูมิคุ๎มกันให๎กับ

                            ตนเอง

                         4) มุํงสูํการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจต๎องเป็นกระบวนการที่ไมํสํงผล

                            กระทบหรือทําลายสิ่งแวดล๎อมและทรัพยากรธรรมชาติ นอกจากนี้ยังต๎องมีสํวนในการดูแล
                            สิ่งแวดล๎อมหรือฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให๎สามารถนํากลับมาใช๎ประโยชน๑

                         5) สร๎างความมั่นคงของประเทศ โดยผลิตสินค๎าหรือบริการพื้นฐานที่จําเป็นได๎ระดับหนึ่ง

                            โดยเฉพาะด๎านพลังงานและด๎านสุขภาพ



                                                            6
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31