Page 92 -
P. 92

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                  การนําเสนอชุดสํารับอาหารไทยที่มีเอกลักษณและเหมาะสมตอสุขภาพ  เพื่อเปนแนวทางสําหรับของผูบริโภคทั่วไป  ผูประกอบ
                การรานอาหารไทย  ตลอดจนผูผลิตอาหารในภาคอุตสาหกรรมใหสามารถนําไปประยุกตใชได  การนําเสนอขอมูลของแตละสํารับ
                ประกอบดวย






                1. องคประกอบและภาพของอาหารในสํารับ ระบุทั้งชนิดและ
                  ปริมาณ  เพื่อแสดงใหเห็นเปนรูปธรรมวา  มีปริมาณมากนอย
                  เทาใด  และสําหรับเปรียบเทียบกับคุณคาทางโภชนาการที่ได
                  รับ  ซึ่งอาจสะทอนภาพความเปนจริงใหเห็นวาการบริโภคที่
                  เปนอยูในปจจุบันของแตละบุคคลเหมาะสมเพียงใด  ควรปรับ
                  เปลี่ยนอยางไรเพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพ  ตลอดจน
                  สามารถชวยลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคเรื้อรังตาง ๆ ได

                2. คุณคาทางโภชนาการของแตละสํารับ  จากการวิเคราะห
                  อาหารในหองปฏิบัติการ  และประเมินตามหลักเกณฑ
                  ปริมาณสารอาหารที่แนะนําใหบริโภคประจําวันสําหรับคน
                  ไทยอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป (Thai Recommended Daily In-
                  takes ; Thai RDI) ซึ่งในการศึกษานี้ใชความตองการพลังงาน                                                             สมตําไทย                                      แกงเลียงฟกทองกุงสด
                  โดยเฉลี่ยเทากับ 2,000 กิโลแคลอรี จากสารอาหารหลักทั้ง
                  3  ชนิด  คือ  โปรตีน  ไขมัน  และคารโบไฮเดรต  ซึ่งสามารถ
                  ครอบคลุมกลุมเปาหมายไดหลากหลาย โดยเนนความสําคัญ
                  2 ดานคือ

                  •  กลุมสารอาหารที่ควรควบคุมไมใหไดรับมากเกินไป
                    เพราะอาจมีผลเสียตอสุขภาพ เชน ไขมันรวม ไขมันอิ่มตัว                                                                 ดังนั้นหากสามารถนําหลักการดานโภชนาการที่คํานึงถึงความสมดุลของสารอาหารเปนหลัก  มารวมกับหลักการจัดสํารับ
                    คอเลสเตอรอล  โซเดียม  รวมถึงพลังงาน  ทั้งนี้ควรไดรับ  3. คุณคาเชิงสุขภาพเบื้องตนจากการทดสอบในหองปฏิบัติการ     อาหารไทยตามภูมิปญญาไทย  โดยการจัดอาหารบางอยางที่มีพลังงานหรือไขมันตํ่า เชน สมตํา แกงเลียง เขากับอาหารที่มีพลังงาน
                    สารอาหารกลุมนี้ไมเกินรอยละ 30  สําหรับการบริโภค  การทดสอบคุณสมบัติของอาหารแตละชนิดโดยวิธีตาง ๆ ใน             หรือไขมันสูง เชน อาหารทอด อาหารกะทิ เปนตน อยางไรก็ตามในความเปนจริงคงไมสามารถทําไดครบถวนสมบูรณในทุกดาน
                    อาหาร 1 สํารับ นอกจากนั้นสัดสวนของพลังงานที่ไดรับ  หลอดทดลอง  ในเซลลจากลําไสใหญ  และตับของสิ่งมีชีวิต         เพียงแตจัดอยางไรใหเหมาะสมและมีผลเสียนอยที่สุด ดังจะเห็นไดวา ในสํารับอาหารไทยที่นําเสนอเปนตัวอยางนี้ก็ยังมีขอดอยอยู
                    จากไขมัน ไมควรเกินรอยละ 30 สําหรับนํ้าตาล ไมมีขอ  ตลอดจนการวิเคราะหหาสารออกฤทธิ์ออกฤทธิ์สําคัญตาง ๆ          บางในดานของปริมาณสารอาหารบางอยาง  ที่ยังเปนปญหาโภชนาการของคนไทย  เชน  โซเดียมที่ไดจากเครื่องปรุงรสเค็ม  เชน
                    กําหนดที่ชัดเจนไว แตมีขอเสนอแนะวาไมควรบริโภคเกิน   ในการตานอนุมูลอิสระ เชน แคโรทีนอยด ฟลาโวนอยด โพลี      เกลือ  นํ้าปลา  อยางไรก็ดีหากผูบริโภคมีขอมูลและความเขาใจเพียงพอนาจะสามารถจัดการไดอยางเหมาะสม  ประเทศไทยไดชื่อ
                    รอยละ 10 ของพลังงานที่ไดรับ                 ฟนอล  มีรายงานวิจัยทางระบาดวิทยาในหลายกลุมประชากร                  วามีความหลากหลายของพืชผัก สมุนไพร และผลไม ที่ใชเปนอาหาร ซึ่งตัวชี้วัดตัวหนึ่งที่บงบอกไดถึงปริมาณการบริโภคพืชผักคือ

                  •  กลุมสารอาหารที่ควรไดรับปริมาณมากพอ  เพื่อใหการ  ที่เสนอแนะวาการไดรับฟลาโวนอยดเปนประจํา  อยางนอย          ใยอาหาร  และสํารับอาหารไทยในการศึกษานี้ถือวาใยอาหาร เปนจุดเดนอยางหนึ่ง นอกจากนั้น ยังไดมีการรณรงค ในระดับโลก
                    ทํางานของรางกายเปนปกติ เชน โปรตีน วิตามิน แรธาตุ   30  มิลลิกรัมตอวัน  อาจชวยลดความเสี่ยงตอการเกิดโรค       ใหมีการบริโภค พืชผัก สมุนไพร และผลไม ใหมากขึ้น เนื่องจากมีสารออกฤทธิ์สําคัญตาง ๆ เชน แคโรทีนอยด ฟลาโวนอยด โพลีฟนอล
                    รวมถึงใยอาหาร ทั้งนี้ควรมีไมนอยกวารอยละ 10 ตอสํารับ  หลอดเลือดและหัวใจได  หรือการไดรับแคโรทีนอยดที่ปองกัน   ที่คนพบแลววามีผลดีตอสุขภาพ และยังคงมีการศึกษาวิจัยอยางตอเนื่อง เพื่อหาขอมูลสนับสนุนผลดีของการบริโภค ผัก ผลไม ไป
                    หรือมื้ออาหาร                                 โรคมะเร็งบางชนิด เปนตน                                             ในอาหารประจําวัน


                                                             90                                                                                                                     91


                                                     อาหารไทย...ทางเลือกที่ดีกวา                                                                                               สํารับอาหารไทย
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97