Page 52 -
P. 52
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลการประมาณค่าราคาหัวมันสําปะหลังสด ที อยู่ในรูป natural logarithm ด้วยวิธีกําลังสองน้อย
ที สุด (ตารางที 3.6) พบว่า ตัวแปรอิสระทุกตัวที ใช้ในการประมาณการมีนัยสําคัญทางสถิติในการอธิบาย
ลักษณะของราคาหัวมันสําปะหลังสด ณ ระดับนัยสําคัญที 1% ในทุกช่วงเวลา โดยค่าสัมประสิทธิ ของตัว
แปรแนวโน้มเวลาที ประมาณการได้แสดงถึงแนวโน้มที เพิ มขึ นของราคาหัวมันสําปะหลังสดในช่วงเดือน
มกราคม 2527 - เมษายน 2542 และเดือนพฤษภาคม 2542 - มีนาคม 2553 และแสดงถึงแนวโน้มที ลดลง
ในช่วงเดือนเมษายน 2553 - ธันวาคม 2559 ผลดังกล่าวสอดคล้องกับลักษณะข้อมูลราคามันสําปะหลังในรูป
ที 3.3
ผลการประมาณค่าราคาผลปาล์มนํ ามัน ที อยู่ในรูป natural logarithm ด้วยวิธีกําลังสองน้อยที สุด
(ตารางที 3.7) พบว่า ตัวแปรอิสระที ใช้ในการประมาณการมีนัยสําคัญทางสถิติในการอธิบายลักษณะของ
ราคาผลปาล์มนํ ามัน ณ ระดับนัยสําคัญที 1% ในทุกช่วงเวลา ยกเว้น ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2544 -
กันยายน 2555 ตัวแปรคงที มีนัยสําคัญทางสถิติในการอธิบายลักษณะของราคาผลปาล์มนํ ามัน ณ ระดับ
นัยสําคัญที 5% โดยค่าสัมประสิทธิ ของตัวแปรแนวโน้มเวลาที ประมาณการได้ ระบุว่า ราคาผลปาล์มนํ ามันมี
แนวโน้มเพิ มขึ นตลอดเวลา ยกเว้น ในช่วงเดือนมกราคม 2541 - ตุลาคม 2544 ซึ งผลดังกล่าวคล้องกับ
ลักษณะข้อมูลราคาที แสดงในรูปที 3.4
3.4 ข้อจํากัดของผลการศึกษา (Limitation on Test Results)
เนื องจากตัวแปรที ใช้ในการทดสอบการเปลี ยนแปลงทางโครงสร้างราคาพืชเศรษฐกิจ คือ ค่าเฉลี ย
และค่าแนวโน้มเวลาของราคาพืชเศรษฐกิจเอง ผลการประมาณการช่วงเวลาที น่าจะเกิดการเปลี ยนแปลงทาง
โครงสร้างราคาที ได้ จึงชี ให้เห็นเพียงว่าค่าเฉลี ยและแนวโน้มเวลาของราคาพืชเศรษฐกิจก่อนและหลัง
ช่วงเวลาดังกล่าวแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติหรือมีความผันผวนอย่างมาก ฉะนั น อาจเป็นไปได้ที
สาเหตุที ทําให้เกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาจะเกิดขึ นก่อนหรือหลังช่วงเวลาที ประมาณการได้
3-16