Page 4 -
P. 4

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       จากการสัมภาษณ์ผู้เชี ยวชาญ เพื อขอความคิดเห็นถึงสาเหตุที อาจทําให้เกิดการเปลี ยนแปลงใน

               โครงสร้างราคาพืชเศรษฐกิจ รวมถึงช่องทางที ภัยพิบัติทางธรรมชาติหรือสาเหตุนั นจะส่งผลกระทบต่อการ
               เปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาพืชผล  ผู้เชี ยวชาญล้วนให้ความคิดเห็นไปในทางเดียวกันว่า เป็นการยากที จะ

               ระบุอย่างแน่ชัดว่า ปัจจัยใดปัจจัยหนึ ง คือปัจจัยที มีผลต่อราคาสินค้าเกษตรมากที สุด เนื องจากปัจจัยหลักที

               ส่งผลต่อความผันผวนของราคาจะแตกต่างกันไปในแต่ละช่วงเวลา  จึงจําเป็นต้องพิจารณาหลาย ๆ ปัจจัย
               ร่วมกัน  ในการวิเคราะห์เชื อมโยงผลการประมาณการช่วงเวลาที น่าจะเกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคา

               พืชเศรษฐกิจกับเหตุการณ์ที เกิดขึ นจริงจึงอาศัยการวิเคราะห์พิจารณาข้อมูลราคาสินค้าเกษตร ปริมาณผลผลิต

               ข้อมูลอื น ๆ ที เกี ยวข้อง อาทิ อัตราการเติบโตของรายได้ประชาชาติโลก ปริมาณหรือมูลค่าการส่งออก

               ปริมาณหรือมูลค่าการนําเข้าสินค้าเกษตรจากประเทศคู่ค้ารายใหญ่ และราคาสินค้าอื น ๆ ที เกี ยวข้อง รวมไป
               ถึงความคิดเห็นของผู้เชี ยวชาญ ร่วมกับการทบทวนเหตุการณ์ต่าง ๆ ที อาจเป็นสาเหตุที ทําให้เกิดการ

               เปลี ยนแปลงในโครงสร้างราคาในช่วงเวลาที ประมาณการได้  โดยสาเหตุที อาจทําให้เกิดการเปลี ยนแปลงใน

               โครงสร้างราคาพืชเศรษฐกิจแต่ละชนิดได้สรุปได้นี

                       การเปลี ยนแปลงในโครงสร้างราคาข้าวในช่วงประมาณเดือนพฤษภาคม 2533 อาจมีอิทธิพลมาจาก
               สภาวะเศรษฐกิจของโลก ที ทําให้อุปสงค์ข้าวลดลง ส่งผลต่อราคาข้าวที ลดลง ในช่วงประมาณเดือนมีนาคม

               2540 อาจเนื องมาจากปรากฏการณ์ El Nino ที ส่งผลกระทบต่อประเทศคู่แข่งในการผลิตข้าว ทําให้อุปสงค์

               ต่อข้าวไทยเพิ มมากขึ น ส่งผลต่อราคาข้าวที เกษตรกรได้รับเพิ มสูงขึ น  ในช่วงประมาณเดือนมีนาคม 2546
               จากภัยธรรมชาติที ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตภายในประเทศไทยลดลง และส่งผลให้ผลผลิตในประเทศคู่ค้า

               ลดลงด้วย ซึ งนําไปสู่ความต้องซื อข้าวในตลาดโลกที เพิ มขึ น นั นคือ อุปสงค์ต่อข้าวโลกที เพิ มขึ นอัน

               เนื องมาจากประเทศจีนประสบกับภัยแล้งและอุปทานภายในประเทศที ลดลงอันเนื องมาจากอุทกภัยใน
               ประเทศไทย ส่งผลให้ราคาข้าวที เกษตรกรได้รับเพิ มสูงขึ น  และในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์ 2551 อาจ

               เป็นอิทธิพลมาจากวิกฤตการณ์อาหารโลกและนโยบายรับจํานําข้าวเปลือก

                       สําหรับสาเหตุที อาจนําไปสู่การเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคายางพาราในช่วงประมาณเดือน
               พฤษภาคม 2532 คือ การเปลี ยนผ่านของสภาวะเศรษฐกิจโลกจากขยายตัวสู่หดตัว ในช่วงประมาณเดือน

               มิถุนายน 2537 คือ การฟื นตัวของสภาวะเศรษฐกิจโลก อันนําไปสู่การฟื นตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์และ

               อุตสากรรมยางรถยนต์ของประเทศผู้บริโภคยางพาราที สําคัญ ในช่วงประมาณเดือนเมษายน 2542 คือ การที
               จีนมีบทบาทมากขึ นในการนําเข้ายางพาราของโลกหรือมีบทบาทต่อการกําหนดอุปสงค์ยางพาราโลกมากขึ น

               ในช่วงประมาณเดือนมิถุนายน 2548 คือ การขยายตัวของสภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมยางรถยนต์ของ

               ประเทศจีนจนทําให้ประเทศจีนกลายเป็นผู้นําเข้ายางพารามากที สุดของโลก และภาวะฝนตกชุกในภาคใต้

               ของประเทศไทย และในช่วงประมาณเดือนเมษายน 2553 คือ วิกฤตการณ์ทางการเงินในหลายประเทศ และ
               อุทกภัยและภาวะดินถล่มในประเทศไทย

                       การเปลี ยนแปลงในโครงสร้างราคามันสําปะหลังในช่วงประมาณเดือนพฤษภาคม 2542 อาจเป็นผล

               มาจากการเปลี ยนแปลงทางด้านการส่งออกของไทยไปยังประเทศคู่ค้า ส่วนในเดือนเมษายน 2553 อาจเป็น




                                                            ii
   1   2   3   4   5   6   7   8   9