Page 89 -
P. 89

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                   เศรษฐกิจ หากตลาดเชาที่ดินมีประสิทธิภาพและการเชาที่ดินสามารถเพิ่มรายไดสุทธิจากการเกษตรได รัฐ

                   ก็ควรสงเสริมบทบาทของตลาดเชาที่ดินในภาคเกษตรใหมากขึ้น ซึ่งอาจหมายถึงการลดหรือยกเลิก
                   มาตรการชวยเหลือเกษตรกรบางอยางที่ถูกวิพากษวิจารณวาขาดประสิทธิภาพและไมยั่งยืน เชน การนํา

                   พื้นที่ปามาจัดสรรใหผูยากไร (ที่ดิน ส.ป.ก.) และการแทรกแซงราคาสินคาเกษตร เปนตน

                          แมวาในปจจุบันมาตรการอุดหนุนราคาสินคาเกษตรจะถูกยกเลิกไปแลว แตก็มีความเปนไปไดวา

                   อาจมีการแทรกแซงตลาดสินคาเกษตรในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งอีกก็เปนได รัฐควรพิจารณาใหดีถึง

                   ผลกระทบของนโยบายเหลานั้นตอแรงจูงใจในการใชที่ดินของเกษตรกร การแทรกแซงตลาดสินคาเกษตร
                   ในอดีตเนนการอุดหนุนราคาผลิตผลทางการเกษตรหรือรายไดจากการขายผลิตผลของเกษตรกร โดยสิทธิ

                   ประโยชนหรือเงินชดเชยถูกคํานวณจากขนาดที่ดินที่เกษตรกรลงทะเบียนไว ซึ่งเกี่ยวของโดยตรงกับ

                   เอกสารสิทธิ์การถือครองที่ดินอยางหลีกเลี่ยงไมได แมวาเกษตรกรที่ทํากินบนที่ดินเชาจะสามารถขอรับ
                   สิทธิ์ได แตในหลายๆ กรณีพบวาเจาของที่ดินยกเลิกสัญญาเชาเพื่อรับสิทธิ์เองหรือการรับสิทธิโดยผูเชาเกิด

                   ตนทุนทางธุรกรรมที่สูง จนผูเชาขาดแรงจูงใจที่จะเชาที่ดินเพื่อทําเกษตร หรือทําเกษตรแตไมไดรับสิทธิ

                   ประโยชนจากมาตรการความชวยเหลือจากรัฐ นอกจากนี้ เนื่องจากการแทรกแซงราคาสินคาเกษตรโดย
                   รัฐบาลสงผลใหมูลคาผลผลิตสินคาเกษตรเพิ่มขึ้น เจาของที่ดินที่เคยปลอยเชาที่ดินก็หันนําที่ดินกลับมาทํา

                   เกษตรเองมากขึ้น หรือปรับขึ้นคาเชาที่ดินใหสูงขึ้น ในกรณีโครงการจํานําขาวนั้น คาเชาที่สูงขึ้นหมายถึง

                   ความเสี่ยงทางกําไรของเกษตรกรเพิ่มขึ้นดวย เนื่องจากหากผลผลิตไมดีก็ไมสามารถไดรับผลประโยชนจาก
                   โครงการแตยังคงตองแบกรับภาระคาเชาที่สูงขึ้น ดังนั้นหากรัฐบาลมีแผนที่จะนํานโยบายเหลานี้กลับมาใช

                   ก็ควรคํานึงถึงผลกระทบตอตลาดที่ดินและการใชประโยชนที่ดินดวย

                          สัดสวนของเกษตรกรสูงอายุในอนาคตที่จะเพิ่มสูงกวาในอดีตอยางมากทําใหบทบาทของตลาด

                   เชาที่ดินมีความนาสนใจเปนอยางยิ่ง เพราะหากสัดสวนผูสูงอายุในภาคเกษตรที่เพิ่มขึ้นกอใหเกิดการละทิ้ง

                   อาชีพเกษตรกรรมและจํานวนที่ดินวางเปลาสําหรับทําเกษตรที่เพิ่มขึ้น ผลการศึกษาชี้ใหเห็นวาเกษตรกรมี
                   แนวโนมที่จะเชาที่ดินเพื่อทําการเกษตรเมื่ออายุมากขึ้น แตเมื่อเขาสูวัยชราแนวโนมดังกลาวจะเปลี่ยนไป

                   โดยเกษตรกรจะเปลี่ยนจากผูเชาเปนผูปลอยเชาแทนเนื่องจากทํางานไมไหว เกษตรกรบางรายเลิกทํา

                   การเกษตรและยกที่ดินใหกับทายาท ซึ่งมีความเปนไปไดสูงวาลูกหลานอาจเลือกขายที่ดินเกษตรออกไป
                   ภายหลังจากหัวหนาครัวเรือนที่สูงอายุเสียชีวิต เนื่องจากคนรุนใหมกลุมนี้มีการศึกษาที่สูงกวารุนพอแม

                   และมีโอกาสทํางานนอกภาคเกษตรที่ใหผลตอบแทนที่สูงกวา หากที่ดินที่เหมาะสมกับการเพาะปลูกและมี

                   ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานที่เพียงพอตกอยูในมือนายทุนที่ตองการเพียงเก็งกําไรที่ดิน ก็จะทําใหการทํา
                   เกษตรของเกษตรกรรุนใหมมีตนทุนที่สูงเนื่องจากการผลิตถูกจํากัดในพื้นที่ที่ดอยกวา รัฐควรมีแผนที่

                   ชัดเจนวาจะทําอยางไรใหที่ดินเหลานี้ถูกใชประโยชนมากที่สุด หากตองการสรางแรงจูงใจใหเกิดการปลอย

                   เชาและเชาที่ดินก็ควรสงเสริมประสิทธิภาพของตลาดที่ดิน ทั้งการซื้อขายและการเชาที่ดิน โดยเนนการลด
                   ตนทุนทางธุรกรรมที่เกิดขึ้นจากการเขาถึงตลาดที่ดินของผูตองการเชาหรือซื้อที่ดิน และจากการหาผูซื้อ

                   หรือผูเชาของเจาของที่ดิน ธนาคารที่ดินอาจมีบทบาทมากขึ้นในอนาคต หรืออาจมีการพัฒนาเทคโนโลยี





                                                             6-4
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94