Page 88 -
P. 88
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
จากการเกษตรปกอน ทั้งนี้ พบวาเกษตรกรมีแนวโนมที่จะเปลี่ยนจากผูเชาเปนผูปลอยเชาที่ดินเมื่ออายุ
ยางเขา 49 ป ซึ่งถือวาเปนชวงเขาสูวัยสูงอายุของหัวหนาครัวเรือนพอดี ปจจัยอื่นๆ ที่ลดความนาจะเปน
ในการเชาที่ดินเกษตรลงประกอบดวย ขอจํากัดดานสินเชื่อ ระดับการศึกษาของหัวหนาครัวเรือน และการ
ที่มีหัวหนาครัวเรือนเปนเพศหญิง
ที่นาสนใจเปนอยางยิ่งคือ ผลการศึกษาจากแบบจําลองเศรษฐมิติชี้วาการเชาที่ดินสงผลใหรายได
สุทธิจากการเกษตรเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ โดยรายไดสุทธิจากการเกษตรจะสูงกวาครัวเรือนที่ไมไดเชา
ที่ดินราว 18,292 บาท โดยเฉลี่ย หรือหากเปรียบเทียบตอขนาดพื้นที่เชา พบวา รายไดสุทธิจากการเกษตร
ของครัวเรือนสามารถเพิ่มขึ้นราว 1,161 บาทตอไร หากมีการเชาที่ดินเขามาทําการเกษตรเพิ่มขึ้น ซึ่ง
เทากับการเพิ่มขึ้นถึง 23,231 บาทตอครัวเรือน (คํานวณจากคาเฉลี่ยเนื้อที่เชาเฉลี่ยของทั้งกลุมตัวอยางซึ่ง
เทากับ 20 ไรตอครัวเรือน) แมวาการปลอยเชาที่ดินจะทําใหรายไดสุทธิจากการเกษตรของครัวเรือนลดลง
แตมีสวนสําคัญตอการเพิ่มรายไดสุทธินอกภาคเกษตร ซึ่งอยูในรูปของคาเชาที่ดินและคาเสียโอกาสของ
แรงงานในครัวเรือนที่แตเดิมเคยถูกนําไปใชทําการเกษตร ประเด็นที่สองสอดคลองกับผลการศึกษาที่พบวา
จํานวนสมาชิกในครัวเรือนเทียบเทาผูใหญไมสงผลตอรายไดสุทธิจากการเกษตร แตมีบทบาทอยางมากตอ
รายไดสุทธินอกภาคเกษตร สาเหตุเปนเพราะการศึกษาของสมาชิกในครัวเรือนที่สูงขึ้นชวยเปดโอกาส
ตลาดแรงงานนอกภาคเกษตร รวมถึงบทบาทของเครื่องจักรกลและแรงงานจางที่เขามาทดแทนการใช
แรงงานในครัวเรือน
มูลคาทรัพยสินทางการเกษตรแทบไมชวยเพิ่มรายไดสุทธิจากการเกษตรมากนัก สาเหตุเปน
เพราะทรัพยสินสวนมากเปนเครื่องจักรขนาดเล็กที่ราคาไมสูง ในขณะที่เครื่องจักรขนาดใหญซึ่งชวยเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการผลิตไดดีสวนมากมักจะมีราคาที่สูงเกินกวากําลังการซื้อของเกษตรกรรายยอย
เกษตรกรจึงเลือกใชวิธีเชาเครื่องจักรแทนการซื้อ อายุของหัวหนาครัวเรือนที่สูงขึ้นและสัดสวนหัวหนา
ครัวเรือนเพศหญิงที่มากขึ้นอาจหมายถึงประสิทธิภาพในการผลิตที่ลดลง ในขณะที่การเขาถึงแหลงสินเชื่อ
ไมใชอุปสรรคของเกษตรกรอีกตอไป ขอสังเกตที่นาสนใจคือ แมครัวเรือนที่มีจํานวนสมาชิกเทียบเทา
ผูใหญสูงมีแนวโนมที่จะเชาที่ดินมากขึ้น แตกลับไมมีสวนชวยเพิ่มผลผลิตหรือรายไดสุทธิจากการเกษตร
ของครัวเรือนเลย หลักฐานดังกลาวสะทอนใหเห็นวาแรงงานครัวเรือนมีบทบาทนอยมากตอการเพิ่มรายได
ทางการเกษตรของครัวเรือนในชนบทเมื่อเทียบกับเทียบกับแรงงานจางและการเชาเครื่องจักรกล
6.2 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
เปนที่ปรากฏชัดวาตลาดเชาที่ดินมีบทบาทสําคัญอยางมากตอการลดความเหลื่อมล้ําของการถือ
ครองที่ดิน และที่นาสนใจเปนอยางยิ่งคือการเชาที่ดินสามารถยกระดับรายไดภาคเกษตรของครัวเรือนให
สูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญ แสดงใหเห็นวาตลาดเชาที่ดินในประเทศไทยมีประสิทธิภาพ และควรถูกมองใน
ฐานะทางเลือกสําหรับเกษตรกรที่ขาดแคลนเงินทุนในการซื้อที่ดินหรือเกษตรกรที่ไมตองการเปนเจาของ
ที่ดินเพื่อลดภาระสภาพคลองทางการเงิน มากกวาที่จะถูกมองวาเปนปญหาอันเกิดจากโครงสรางทาง
6-3