Page 87 -
P. 87
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ติดตามเก็บแบบสอบถามครัวเรือนเปนระยะเวลาตอเนื่องยาวนานที่สุดในโลก (ตั้งแตป 1997 จนถึง
ปจจุบัน) งานวิจัยชิ้นนี้เลือกเฉพาะวิเคราะหกลุมตัวอยางครัวเรือนที่มีการทําเกษตรตอเนื่อง ตั้งแตป 2000
ถึง 2013 จาก 4 จังหวัด ไดแก ฉะเชิงเทรา ลพบุรี บุรีรัมย และศรีสะเกษ จํานวนทั้งสิ้น 384 ครัวเรือน ใน
แตละป
เมื่อเปรียบเทียบขนาดที่ดินที่เกษตรกรเปนเจาของระหวางครัวเรือนที่มีการเชาที่ดินกับครัวเรือน
ที่มีการปลอยเชาที่ดิน พบวา ขนาดที่ดินที่ตนเองเปนเจาของของกลุมแรกนอยกวากลุมที่สองกวาสามเทา
โดยเมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยตลอด 14 ป ครัวเรือนที่เปนผูเชามีที่ดินเปนของตัวเอง 14.46 ไรตอครัวเรือน
ในขณะที่ครัวเรือนที่ปลอยเชาที่ดินมีการครอบครองที่ดินที่เปนเจาของสูงถึง 50.74 ไรตอครัวเรือน
หลักฐานดังกลาวแสดงใหเห็นถึงความแตกตางของการครอบครองที่ดินระหวางเกษตรกรสองกลุมไดอยาง
ชัดเจน ที่นาสนใจคือ ครัวเรือนผูเชาไดมีการเชาที่ดินเขามาเพื่อทําการเกษตรโดยเฉลี่ยมากถึง 28.67 ไรตอ
ครัวเรือน ในขณะที่ครัวเรือนผูใหเชาก็มีการปลอยเชาที่ดินสูงถึง 20 ไรตอครัวเรือน แสดงใหเห็นวาตลาด
เชาที่ดินของไทยคอนขางมีประสิทธิภาพในการลดความเหลื่อมล้ําในการถือครองที่ดินระหวางครัวเรือน
นอกจากนี้ การที่จํานวนครัวเรือนที่ปลอยเชาที่ดินมีจํานวนนอยมากเทียบกับผูเชา บงบอกใหเห็นวาดินเชา
จํานวนไมนอยมาจากครัวเรือนที่อยูนอกภาคเกษตร อยางไรก็ตาม ในภาพรวมพบวา เกษตรกรมีแนวโนม
ลดการเชาที่ดินเพื่อทําการเกษตร และเพิ่มการทําเกษตรบนที่ดินที่ตนเองเปนเจาของมากขึ้น สาเหตุสวน
หนึ่งคาดวาเกิดจากมาตรการอุดหนุนราคาสินคาเกษตรของรัฐบาลซึ่งผลประโยชนถูกผูกไวกับขนาดที่ดิน
ทํากิน โดยเฉพาะอยางยิ่งโครงการจํานําสินคาเกษตรและโครงการประกันรายไดเกษตรกร (เชน ขาว มัน
สําปะหลัง ยางพารา เปนตน) สงผลใหคาเสียโอกาสในการปลอยเชาที่ดินเพิ่มสูงขึ้น เจาของที่ดินจึงลดการ
ปลอยเชาที่ดินลง
ผลการทดสอบสมมติฐานในประเด็นที่เกี่ยวของกับบทบาทของตลาดเชาที่ดินตอการพัฒนา
เศรษฐกิจครัวเรือนดวยแบบจําลองเศรษฐมิติใหผลตรงตามที่คาดไว กลาวคือ ครัวเรือนที่มีที่ดินมากจะ
ปลอยเชาที่ดินออกไปใหครัวเรือนที่ขาดแคลนที่ดินทํากิน สงผลใหเกิดความเทาเทียมกันในการใชที่ดินเพื่อ
ทําการเกษตร ครัวเรือนที่มีความสามารถมากมีแนวโนมที่จะเชาที่ดินเพิ่มเพื่อขยายการผลิต ถาครัวเรือน
เกษตรมีจํานวนสมาชิกในครัวเรือนเทียบเทาผูใหญเพิ่มขึ้น 1 เทาตัว โอกาสที่จะมีการเชาที่ดินก็จะเพิ่มขึ้น
ราวรอยละ 9.2 เปนไปไดวาจํานวนผูใหญที่มากขึ้นทําใหครัวเรือนสามารถขยายการผลิตไดอีก ซึ่งสามารถ
มองไดทั้งในแงการใชแรงงานในครัวเรือนเพื่อทําการผลิตและในแงของการบริหารฟารม ถาครัวเรือน
เกษตรมีจํานวนที่ดินถือครองเปนเจาของเพิ่มมากขึ้น 1 เทา จะลดโอกาสการเชาที่ดินลงรอยละ 18.7
สะทอนใหเห็นวาครัวเรือนเกษตรที่เปนเจาของที่ดินจํานวนมากมีแนวโนมที่จะปลอยเชาที่ดิน หากทําการ
เปรียบเทียบครัวเรือนกลุมที่ความสามารถสูงที่ตําแหนงเปอรเซ็นไทลที่ 90 กับกลุมที่ความสามารถระดับ
ปานกลางเทากับคาเฉลี่ย พบวา ครัวเรือนเกษตรที่มีความสามารถทางการเกษตรสูงที่ตําแหนงเปอรเซ็น
ไทลที่ 90 มีโอกาสที่จะเชาที่ดินสูงกวาครัวเรือนเกษตรที่มีความสามารถปานกลางราวรอยละ 9.7 ปจจัย
อื่นๆ ที่สงผลใหแนวโนมการเชาที่ดินสูงขึ้น ไดแก อายุหัวหนาครัวเรือน ปริมาณน้ําฝนปกอน และรายได
6-2