Page 86 -
P. 86
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 6
สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
6.1 สรุปผลการศึกษา
ปจจุบันประเทศไทยยังคงเผชิญกับปญหาการขาดแคลนที่ดินทํากิน แมวาภาครัฐจะพยายามอยาง
เต็มที่ในการใหความชวยเหลือกับประชาชนที่ยากจนและไรที่ทํากิน ปญหาดังกลาวสะทอนถึงความเหลื่อม
ล้ําในการถือครองที่ดินของคนในประเทศ กลาวคือ ที่ดินจํานวนมากไดถูกจับจองเปนเจาของโดยคนเพียง
บางกลุมซึ่งสวนมากจะเปนกลุมนายทุน สงผลใหคนสวนมากของประเทศเปนเจาของที่ดินแปลงเล็กๆ
ขนาดเพียงไมกี่ไร การใชประโยชนจากที่ดินจึงไมสามารถทําไดเต็มที่แมวาจะมีกําลังคนและความสามารถ
ก็ตาม ขอจํากัดดานที่ดินสงผลกระทบโดยตรงตอการพัฒนาเศรษฐกิจของครัวเรือนที่ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม เนื่องจากคนกลุมนี้ใชที่ดินเปนปจจัยหลักในการผลิตเพื่อสรางรายได ทั้งนี้ มีการศึกษาที่ระบุ
วาหนึ่งในปจจัยที่เปนรากเหงาของความเหลื่อมล้ําในการถือครองที่ดินในประเทศไทย ก็คือความเหลื่อมล้ํา
ทางรายไดของคนในประเทศนั่นเอง จึงอาจกลาวไดวาปญหาความเหลื่อมล้ําดานรายไดและที่ดินเปนวงจร
ที่เชื่อมโยงกันอยูอยางแยกออกไดยาก ดังนั้นหากสามารถลดความเหลื่อมล้ําดานใดดานหนึ่งลงได ก็อาจจะ
ชวยลดความเหลื่อมล้ําทั้งวงจรลงได
ในทางทฤษฎีนั้น ตลาดเชาที่ดินเปนกลไกที่ชวยลดความเหลื่อมล้ําในการถือครองที่ดิน โดยการ
เคลื่อนยายที่ดินจากเกษตรกรที่มีที่ดินจํานวนมากแตขาดประสิทธิภาพในการผลิต ไปยังเกษตรกรที่ขาด
แคลนที่ดินทํากินแตมีความสามารถในการผลิตสูง ซึ่งจะสงผลใหรายไดของครัวเรือนเพิ่มสูงขึ้น หรือกลาว
ไดวา การเชาที่ดินนอกจากจจะชวยลดความเหลื่อมล้ําในการถือครองที่ดินทํากินแลว (แมไมใชในรูปการ
เขาถือครองเปนเจาของ) ยังสามารถชวยลดความเหลื่อมล้ําดานรายไดของครัวเรือนไดอีกดวย อยางไรก็
ตาม ตนทุนทางธุรกรรมในการเชาที่ดินและความไมสมบูรณของตลาดเชาที่ดินเปนอุปสรรคสําคัญตอกลไก
การทํางานของตลาดเชาที่ดินใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
งานวิจัยฉบับนี้ตองการศึกษาถึงบทบาทของตลาดเชาที่ดินตอการพัฒนาเศรษฐกิจของครัวเรือน
เกษตรของไทย โดยมีสมมติฐานวาตลาดเชาที่ดินที่จะกอใหเกิดการเคลื่อนยายที่ดินจากครัวเรือนที่มีที่ดิน
มากไปยังครัวเรือนที่มีที่ดินนอย และเคลื่อนยายที่ดินจากครัวเรือนที่มีประสิทธิภาพในการผลิตต่ําไปยัง
ครัวเรือนที่มีความสามารถที่สูงกวา และที่สําคัญที่สุดคือ คาดวาการเชาที่ดินจะชวยยกระดับรายได
ทางการเกษตรของครัวเรือนไดอยางมีนัยสําคัญ การศึกษานี้ถือเปนครั้งแรกที่ไดมีการนําแบบจําลองทาง
เศรษฐศาสตรมาประยุกตใชเพื่อศึกษาบทบาทของตลาดเชาที่ดินตอการพัฒนาเศรษฐกิจของครัวเรือน
เกษตรในประเทศไทย ซึ่งจะเปนประโยชนอยางมากในเชิงนโยบายตอการวางแผนการใชที่ดินเกษตรใน
อนาคต นอกจากความโดดเดนดานโจทยวิจัยแลว งานวิจัยฉบับนี้ยังมีความโดดเดนในแงของการนําขอมูล
ครัวเรือนแบบตอเนื่อง (Balanced panel data) มาใชในการวิเคราะหแบบจําลองเศรษฐมิติอีกดวย
ขอมูลที่ไดมาจากฐานขอมูล Townsend Thai Project ซึ่งเปนฐานขอมูลครัวเรือนแบบตอเนื่องที่มีการ
6-1