Page 83 -
P. 83
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 6.7 ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติด้านความเสี่ยงของเกษตรกรตัวอย่างผู้ปลูกพืชผักที่ท าการศึกษาใน
จังหวัดนครปฐม ปทุมธานี และราชบุรี ปีการผลิต 2558/59
OLS Logit
ตัวแปร ค่าสัมประสิทธิ์ ค่าสัมประสิทธิ์ ผลกระทบส่วนเพิ่ม
(Coefficient) (Coefficient) (Marginal Effect)
ค่าคงที่ (cons) -1.8137 -7.1395
ค่าใช้จ่ายในการจัดการศัตรูพืชโดยชีววิธี 0.3559 0.3132 0.0369
(Biological Cost) (1.75)* (1.73)* (1.71)*
ค่าใช้จ่ายในการจัดการศัตรูพืชโดยใช้ -0.0098 -0.0378 -0.0044
ns
ns
ns
สารเคมี (Chemical Cost) (-0.22) (-0.54) (-0.54)
การแลกเปลี่ยนพูดคุยด้านการจัดการ 0.3336 0.4019 0.0473
ศัตรูพืชกับคนในครอบครัว (Family) (2.83)*** (2.54)** (2.71)***
การรับรู้หรือรู้จักการจัดการศัตรูพืชด้วย 0.2346 0.2374 0.0279
ชีวิธี (Know) (2.82)*** (2.11)** (2.21)**
การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการฉีดพ่น 2.9170 2.3333 0.2746
สารเคมี (Practice) (3.68)*** (2.80)*** (2.80)**
จ านวนตัวอย่าง 303 303 303
R-squared 0.1277 0.1157
F-statistic 8.70***
Log likelihood -124.2134
LR Chi-squared 32.48***
หมายเหตุ: ค่าในวงเล็บ คือ ค่า t-statistic
ns คือ ไม่นัยส าคัญทางสถิติ
* คือ มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 90
** คือ มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95
*** คือ มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 99
6.4 สรุปท้ายบท
ทัศนคติด้านความเสี่ยงมีผลต่อการจัดการศัตรูพืชของเกษตรกร เกษตรกรมีการใช้สารเคมีก าจัด
ศัตรูพืชสูงมากในปัจจุบัน เป็นกลุ่มเกษตรกรที่มักกลัวความเสี่ยง เกษตรกรที่มีทางเลือกในการจัดการศัตรูพืช
โดยชีววิธี หรือวิธีอื่นที่ไม่ใช้สารเคมีก าจัดศัตรูพืช เป็นกลุ่มเกษตรกรที่มีความสามารถในการยอมรับความเสี่ยง
ได้สูงกว่า สะท้อนให้เห็นว่า การสนับสนุนเกษตรกรให้มีความรู้และทางเลือกในการจัดการศัตรูพืชโดยชีววิธี จะ
68