Page 37 -
P. 37

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                   หมู่บ้านเพียงพอต่อการกระจายการเป็นตัวแทนของประชากรในหมู่บ้านเดียวกัน มีงานวิจัยระดับ

                   นานาชาติสนับสนุน (Klasen and Waibel, 2013) เนื่องจากเกษตรกรในหมู่บ้านเดียวกันมักมีความ
                   คล้ายคลึงกันสูง (Homogeneity)  จึงอาจไม่จ าเป็นต้องใช้ตัวอย่างแบบจัดแบ่งตามสัดส่วนประชากร

                   ส าหรับการส ารวจภาคสนาม ได้ด าเนินการในช่วงเดือนมิถุนายน 2559 และเนื้อหาในแบบสอบถาม

                   ครอบคลุมปีการผลิต 2558/59 (ภาคผนวก ก)

                   ตารางที่ 3.1 จ านวนตัวอย่างครัวเรือนเกษตรกรผู้ปลูกพืชผักในพื้นที่ศึกษา จังหวัดปทุมธานี

                               นครปฐม และราชบุรี ปีการผลิต 2558/2559

                           จังหวัด                       อ าเภอ                จ านวนครัวเรือนตัวอย่าง

                          นครปฐม               เมืองนครปฐม และก าแพงแสน                 100
                          ปทุมธานี                     หนองเสือ                         101

                           ราชบุรี                    เมืองราชบุรี                      102

                                              รวม                                       303



                   3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล

                          เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อแรก เป็นการรวบรวมข้อมูลจากบทความจากวารสารชั้นน าใน

                   ต่างประเทศ น ามาสรุปทางเลือกเชิงนโยบายในการจัดการศัตรูพืชในต่างประเทศ
                          เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อสอง อาศัยข้อมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิจากภาคสนาม เพื่อประมวล

                   สถานการณ์การจัดการศัตรูพืชของประเทศไทยและของเกษตรกรตัวอย่าง อาศัยการวิเคราะห์เชิง

                   พรรณนา เพื่อให้ได้มาซึ่งทางเลือกในการจัดการศัตรูพืชที่มีอยู่ของประเทศไทย
                          เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อสาม วิเคราะห์ทัศนคติด้านความเสี่ยงของเกษตรกรตัวอย่างผู้ปลูก

                   ผัก อาศัยค าถามด้านความคิดเห็นด้านความเสี่ยง และแบบทดสอบที่สะท้อนทัศนคติด้านความเสี่ยง
                          เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อสี่ เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายส าหรับการจัดการศัตรูพืชที่

                   เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีหลายคุณลักษณะในการจัดการ จึงน าวิธีการศึกษาแบบจ าลองทางเลือก

                   (Choice  Modeling:  CM)  ซึ่งเป็นวิธีการศึกษาที่เหมาะสมในการศึกษาครั้งนี้ โดยก่อนการจัดท า
                   คุณลักษณะ โดยพิจารณาข้อมูลด้านการจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมที่ตรงกับความ

                   ต้องการของเกษตรกร จากผลการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) มาปรับปรุงเพื่อให้ได้คุณลักษณะ
                   และระดับของคุณลักษณะของการจัดการศัตรูพืชที่เหมาะสม ประกอบการสร้างแบบสอบถาม แล้วน า

                   ข้อมูลมาวิเคราะห์โดยแบบจ าลองทางเลือก (Choice Modeling: CM)












                                                           22
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42