Page 10 -
P. 10
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ข้อเสนอเชิงนโยบายการเกษตร
3) การส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการ ระบบการท�าการเกษตรแบบมีสัญญา เป็น
ใช้ระบบการท�าการเกษตรแบบมีสัญญา สิ่งที่ทางราชการ พ่อค้าผู้รับซื้อผลผลิตในท้องถิ่น
(Contract Farming) และเกษตรกรในประเทศเพื่อนบ้านต้องการให้ผู้
ในการผลิตพืชทั้ง 4 ชนิดภายในประเทศ ประกอบการไทยเข้าไปด�าเนินการเป็นอย่างมาก
นั้น ปัญหาส�าคัญที่พบ คือ การขาดแคลนพันธุ์ดี เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ยังท�าการเกษตร
และเมล็ดพันธุ์คุณภาพดี เกษตรกรมีการจัดการ แบบดั้งเดิมอยู่ คือมีการเก็บเมล็ดพันธุ์จากพันธุ์
ในการเพาะปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ไม่เหมาะสม เก่ามาเพาะปลูกเอง ซึ่งสืบทอดกันมานานแล้ว
และมีต้นทุนค่าแรงงานสูง ท�าให้มีประสิทธิภาพ มีความขาดแคลนเงินทุนส�าหรับจัดซื้อปัจจัยการ
ต�่า ต้นทุนการผลิตสูง ผลผลิตไม่ได้คุณภาพตาม ผลิต และขาดตลาดภายในประเทศที่จะรองรับ
ที่อุตสาหกรรมต่างๆ ต้องการ จึงท�าให้ขายผลผลิต ผลผลิต โดยต้องการให้ผู้ประกอบการไทยช่วย
ได้ในราคาต�่าและสู้ราคาผลผลิตที่น�าเข้าจาก เหลือในการจัดหาปัจจัยการผลิตบางส่วนให้ โดย
ต่างประเทศไม่ได้ ดังนั้นเพื่อที่จะให้มีการผลิต เฉพาะเมล็ดพันธุ์ดี การถ่ายทอดเทคโนโลยีการ
ในประเทศต่อไป ทางหน่วยงานของภาครัฐและ จัดการเพาะปลูกและเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม และ
8 เอกชน เช่น กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการ การรับซื้อผลผลิตในราคาที่เป็นธรรม เป็นการ
เกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตร สร้างความมั่นใจให้แก่เกษตรกรว่าเมื่อมีผลผลิต
และผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ออกมาแล้วจะมีผู้เข้าไปรับซื้อ นอกจากนั้นแล้ว
และอุตสาหกรรมอาหาร จึงควรที่จะได้มีการ การท�าการเกษตรแบบมีสัญญาจะท�าให้ผู้ที่น�าเข้า
ร่วมมือกันในการในการส่งเสริมและพัฒนาการ ผลผลิตข้าวโพดและถั่วเหลืองจะได้รับการยกเว้น
ผลิต เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพการผลิต จากมาตรการการห้ามน�าเข้าในบางช่วงเวลาด้วย
และคุณภาพของผลผลิต โดยการใช้ระบบการท�า
การเกษตรแบบมีสัญญามาใช้ เพื่อสนับสนุนการ
จัดหาปัจจัยการผลิต เช่น เมล็ดพันธุ์คุณภาพดี
ปุ๋ย สารเคมีที่จ�าเป็น และถ่ายทอดเทคโนโลยี
การผลิตที่เหมาะสมไปให้แก่เกษตรกรที่เข้า
ร่วมโครงการ เมื่อได้ผลผลิตแล้วผู้ประกอบการ
จะต้องรับซื้อผลผลิตในราคาที่ตกลงกันไว้ตาม
คุณภาพที่ระบุไว้ในสัญญา
ยุทธศาสตร์ของประเทศไทยด้านความมั่นคงและความปลอดภัยทางอาหาร ยุทธศาสตร์ของประเทศไทยด้านความมั่นคงและความปลอดภัยทางอาหาร
ในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว และถั่วลิสง กับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว และถั่วลิสง กับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
Untitled-6.indd 8 27/7/2559 16:12:31