Page 11 -
P. 11

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     16-2




                               ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ไดมีการสรางอางเก็บน้ําที่ทะเลชุบศรและอางเก็บน้ํา

                 หวยซับเหล็ก ที่จังหวัดลพบุรี และวางทอน้ําเขาไปยังพระราชวังในอําเภอเมืองลพบุรี
                               เดอ ลา ลูแบร เอกอัครราชทูตผูมีอํานาจเต็มของพระเจาหลุยสที่ 14 พระเจาแผนดิน
                 ฝรั่งเศสไดเดินทางมาในป พ.ศ.2230 ไดบันทึกเปนจดหมายเหตุถึง “การมีน้ําทวมทุกปทําใหพื้นที่ดินสยาม
                 อุดมขึ้น” รวมทั้งบันทึกเรื่องมรสุมกับน้ําขึ้นน้ําลงในอาวไทยไวดวย ซึ่งเปนฐานขอมูลทรัพยากรน้ําดานหนึ่ง
                               นโยบายน้ําในสมัยนี้จึงเปนนโยบายน้ําเพื่อการอุปโภคและบริโภครวมทั้งขุดคลองเพื่อการคมนาคม


                        16.1.3 สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ. 2310-2323)
                        ในสมัยนี้ไดมีการขุดคลองในเขตพระนคร เชน คลองหลอด คลองบานขมิ้น คลองบานชางหลอ
                 นโยบายน้ําในสมัยนี้จึงเปนการขุดคลองเพื่อเปนคูพระนครและการคมนาคม (ตารางที่ 16-1)


                        16.1.4 สมัยกรุงรัตนโกสินทร
                               (1) รัชกาลที่ 1 (พ.ศ.2325-2352)
                               นโยบายน้ําในรัชสมัยนี้เปนการพัฒนาการคมนาคมทางน้ําโดยการขุดคลองหลายสาย เชน

                 คลองคูเมือง คลองรอบกรุง คลองมหานาค เปนตน (ตารางที่ 16-1)

                               (2) รัชกาลที่ 2 (พ.ศ.2352-2367)
                               นโยบายน้ําในรัชสมัยนี้เปนการพัฒนาการคมนาคมทางน้ําโดยการขุดคลองลัดหลวงนคร
                 เขื่อนขัณฑ คลองสุนัขหอน เปนตน (ตารางที่ 16-1)

                               ไดมีบันทึกวามีน้ําทวมเกิดขึ้นในป พ.ศ. 2360

                               (3) รัชกาลที่ 3 (พ.ศ.2367-2394)
                               ในรัชสมัยนี้ไดมีการขุดคลองหลายสาย เชน ขุดคลองแสนแสบ ขุดแตงคลองบางขนาก ขุดแตง

                 คลองสุนัขหอนใหสามารถใชเปนเสนทางคมนาคมสะดวกขึ้นรวมทั้งขุดแตงคลองบางบอน และขุดคลองอื่นๆ
                 ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและลพบุรี อีกจํานวนมาก
                               มีการตั้งเสาหินวัดระดับน้ําในแมน้ําเจาพระยาที่คลองหนาเมือง พระราชวังโบราณ จังหวัด

                 พระนครศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2374 ทําใหประเทศไทยมีขอมูลสถิติน้ํามาจนถึงปจจุบัน
                               นอกจากนี้ยังมีการกอสรางทํานบดินปดกั้นลําน้ําในลําน้ําธรรมชาติเพื่อเก็บกักน้ําไวใชใน
                 การทํานา ในแขวงกรุงเกา  แขวงเมืองลพบุรี และแขวงเมืองอางทอง
                               การขุดคลองในรัชสมัยนี้มีบันทึกโดยการตีพิมพหนังสือจดหมายเหตุ (The Bangkok Recorder)
                 ซึ่งเปนหนังสือพิมพเลมแรกของสยาม เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2387 เรื่องการขุดคลองหลายแหงไวดวย

                               นโยบายน้ําในรัชสมัยนี้ เปนนโยบายการพัฒนาแหลงน้ําทั้งเพื่อการเกษตรและการ
                 คมนาคมรวมทั้งนโยบายการจัดเก็บขอมูลน้ําทาครั้งแรกของประเทศไทย

                               (4) รัชกาลที่ 4 (พ.ศ. 2394-2411)

                               สืบเนื่องจากการทําสนธิสัญญาเบาริง (bowring treaty) กับประเทศอังกฤษเมื่อวันที่ 18
                 เมษายน 2398 ทําใหมีการพัฒนาการเกษตรอยางกวางขวาง ไดมีการอนุญาตใหสงขาวขายตางประเทศได
                 จึงมีการเปดพื้นที่ใหมโดยการขุดคลองหลายสายเพื่อพัฒนาพื้นที่มาทําการเกษตร เชน คลองมหาสวัสดิ์
                 คลองภาษีเจริญ และคลองดําเนินสะดวก นอกจากขาวแลวไดมีการปลูกออยเพื่อทําน้ําตาลบริเวณสองฝง

                 คลองมหาสวัสดิ์ดวย
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16