Page 10 -
P. 10

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     16-1




                                                        บทที่ 16

                                                  พลวัตนโยบายน้ําไทย

                        จากการทบทวนนโยบายน้ําในอดีตถึงปจจุบันพบวานโยบายน้ําไทยมีขอบเขตที่กวางขวาง นอกจาก

                 เปนการกําหนดขึ้นเพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคมของชาติแลว ยังกําหนดขึ้นเพื่อแกไข
                 ปญหาที่เกิดขึ้นในแตละชวงเวลาดวย เพื่อใหเห็นพลวัตของนโยบายน้ําไทย ในบทนี้จะวิเคราะหถึงการ
                 เปลี่ยนแปลงที่มาของนโยบายน้ําที่แบงออกเปน 4 ระยะ คือ

                               (1) นโยบายน้ําไทยกอนมีการสถาปนากระทรวงเกษตรพนิชการ (พ.ศ.1762-2435)
                               (2) นโยบายน้ําไทยภายหลังการสถาปนากระทรวงเกษตรพนิชการ (พ.ศ.2435-2475)
                               (3) นโยบายน้ําไทยภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ.2475-2504)
                               (4) นโยบายน้ําไทย ภายหลังมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (พ.ศ.2504-2559)


                               ในระยะที่ 4 ไดวิเคราะหสาระสําคัญการเปลี่ยนแปลงนโยบายน้ําจากที่มาของนโยบายน้ํา
                 รวม 3 แหลง คือ
                               (1) นโยบายน้ําในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
                               (2) นโยบายน้ําในคําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา

                               (3) นโยบายน้ําจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ
                               จากที่มาของนโยบายน้ําดังกลาวไดนํามาวิเคราะหเปรียบเทียบนโยบายน้ําที่กําหนดใน
                 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติกับคําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา และมติ

                 คณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ
                               โดยมีรายละเอียดดังนี้

                 16.1 นโยบายน้ําไทยกอนมีการสถาปนากระทรวงเกษตรพนิชการ (พ.ศ.1762-2435)

                        นโยบายน้ําไทยในชวงระยะเวลานี้เริ่มตนตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัย พ.ศ.1762 จนถึง พ.ศ.2435 โดยมี
                 สรุปสาระสําคัญดังนี้
                        16.1.1 สมัยกรุงสุโขทัย (พ.ศ.1762-1982)
                        จากหลักฐานในศิลาจารึกพบวานโยบายน้ําไทยในสมัยกรุงสุโขทัยเปนนโยบายที่จัดหาน้ําเพื่อการ

                 อุปโภคบริโภคและการเกษตร รวมทั้งการปองกันอุทกภัยโดยมีการกอสรางทํานบดิน ที่เรียกวา สรีดภงส
                 (ซึ่งไดมีการปรับปรุงในป พ.ศ. 2512 เปนอางเก็บน้ําพอขุนรามคําแหง) รวมทั้งการสรางรางชักน้ําจากน้ํา
                 โจนระบายลงสูลําน้ําลําพันซึ่งเปนการจัดการน้ําในเมืองทั้งน้ําอุปโภค-บริโภคและการระบายน้ํา สวนใน

                 พื้นที่การเกษตรมีเหมืองฝายกั้นน้ําจากคลองแมลําพันเขานาขาว
                        ในชวงเวลาเดียวกันในอาณาจักรลานนาซึ่งสถาปนาเมื่อ พ.ศ.1839 ไดมีการจัดระบบชลประทาน
                 แบบเหมืองฝาย โดยมีกฎหมายที่เรียกวา “มังรายศาสตร”  มีบทบัญญัติเกี่ยวกับเหมืองฝายที่ใหความ
                 ศักดิ์สิทธิ์ตอเหมืองฝาย

                        นโยบายน้ําในอาณาจักรลานนาจึงเปนนโยบายน้ําเพื่อการเกษตร
                        16.1.2 สมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893-2310)
                        ในสมัยนี้มีการขุดคลองหลายสาย เชน คลองลัดเกร็ดใหญ ปจจุบันเปนแมน้ําเจาพระยา คลองลัด
                 เกร็ดนอย เปนตน (ตารางที่ 16-1)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15