Page 126 -
P. 126
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ดนตรีแห่งความพอเพียง
“จะนำความต้องการของตัวเอง
ที่จะปลูกฝังความคิดเรื่องของความพอเพียง โดย นายคเณศ เทพสุวรรณ
สู่เด็กๆ ให้จงได้”
แต่ความคิดของข้าพเจ้าไม่ได้หยุดเพียงแค่นั้น คิดอยู่เสมอว่าความพยายาม ดนตรีแห่งความพอเพียง ในแบบฉบับของข้าพเจ้า นายคเณศ เทพสุวรรณ
อยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น และจะนำความต้องการของตัวเองที่จะปลูกฝังความคิด มีจุดเริ่มต้นจากการที่โรงเรียนเทศบาลจามเทวีมีเครื่องดนตรีพื้นเมือง วงสะล้อซอซึง
เรื่องของความพอเพียงสู่เด็กๆ ให้จงได้ ที่ชำรุด ใช้การไม่ได้ คิดอยู่เสมอว่าจะทำอย่างไรให้นักเรียนได้เรียนรู้ และจะต้องทำ กลั่นประสบการณ์
ท่านผู้อำนวยการได้ให้คำแนะนำ โดยยกคำกล่าวของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ว่า วิกฤติให้เป็นโอกาสด้วยประสบการณ์และความรู้ที่มีอยู่ให้ได้ ทำให้ข้าพเจ้าทดลอง
“เศรษฐกิจพอเพียงเป็นธรรมะ เป็นหลักปรัชญาที่ทุกคนไม่ว่าประกอบอาชีพอะไร สอนโดยนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการกับการเรียนการสอน
สามารถนำไปปฏิบัติได้หมด สำคัญคือ ต้องรู้ว่าเมื่อโลกไปทางนี้เราจะอยู่ที่จุดไหน จึงได้รูปแบบและกระบวนการทำงานร่วมกับเด็กๆ ดังนี้
ต้องดูให้ดีๆ ...เศรษฐกิจพอเพียงให้รวยอย่างแข็งแรง รวยอย่างยั่งยืน มั่นคง ทำอะไร ในชั่วโมงการเรียนการสอนและชั่วโมงกิจกรรมชุมนุม ข้าพเจ้าก็ได้เรียกนักเรียน
ทำด้วยเหตุผล ไม่เอากิเลสตัณหาเป็นตัวนำ ถ้าเรายังไม่พร้อม...” ทุกคนที่ร่วมกิจกรรมมาทำความเข้าใจในเรื่องการดำเนินงานว่า ในการเรียนการสอน
เท่านั้นเอง ความคิดของข้าพเจ้าก็เริ่มสดใส และผุดขึ้นในสมอง มีคำถามอยู่ เราจะเริ่มทดลองการเรียนแบบนำทฤษฎีแห่งความพอเพียงมาเรียน และสอบถาม
ในใจว่า ฉันจะทำอะไรกับการเรียนการสอน และฉันต้องทำให้ได้ ซึ่งคำตอบก็ลงตัว ความต้องการว่าต้องการเรียนหรือไม่ เด็กๆ ทุกคนเห็นพ้องต้องกันว่าต้องการที่จะเรียน
กับเรื่อง “ดนตรีแห่งความพอเพียง”
ข้าพเจ้าก็เลยได้มอบหมายให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกัน และสำรวจถึงเครื่องดนตรีพื้นเมือง
ของเราซิว่ามีอะไรที่เสียและจะต้องซ่อมแซมบ้าง และให้เด็กๆ ออกมารายงานถึง
กิจกรรมการสำรวจของตัวเอง
ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 113ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 113ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 113
112 เรื่องเล่าจากคุณครูพอเพียง