Page 130 -
P. 130

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี














                     เครื่องดนตรีสะล้อเป็นเครื่องดนตรีอีกชิ้นหนึ่งที่เด็กๆ  ได้สำรวจและพบว่า                    ตัวเองอยู่เสมอ ยังอยู่ในความคิดของครูพอเพียงคนนี้ ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงได้เขียนรายงาน
               มีวัสดุอุปกรณ์บางอย่างจะต้องเปลี่ยนและซ่อมแซม สายสะล้อเป็นวัสดุอีกอย่างหนึ่ง                     การเรียนการสอน โดยเขียนในรูปแบบการวิจัยในชั้นเรียน และใช้ชื่อว่าการพัฒนา

               ที่เด็กๆ ต้องซ่อมแซมเป็นการด่วน จากการสอบถามของคุณครู เด็กๆ บอกว่า ถ้าไม่มีสาย                   กิจกรรมชุมนุมดนตรีพื้นเมืองวงสะล้อซอซึง เรื่องการซ่อมแซมเครื่องดนตรีพื้นเมือง
               ก็คงจะไม่มีเสียง  และเด็กๆ  จะลองนำเอาสายเบรกที่ไม่ใช้แล้วของรถจักรยาน                           ด้วยตนเอง โดยวิธีการสอนแบบโครงงาน
               มาปรับใช้ เด็กชายวาทิน มาโสด ยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมกับคุณครูอีกว่า “ครูครับ พวกผม                       ก่อนที่จะจบเรื่องเล่าในครั้งนี้ ข้าพเจ้าในฐานะผู้ปฏิบัติการสอน ได้ค้นพบการ

               คิดว่าสายสะล้อเดิมน่ะทำด้วยสายกีตาร์ ผมจะลองนำสายเบรกจากรถจักรยานมาใช้                           ทำงานที่จะทำให้การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน
               เพราะว่ามันก็ทำด้วยโลหะ และมีลักษณะเหมือนกัน คงจะใช้ด้วยกันได้” จากคำกล่าว                       ได้แนบสนิทมากยิ่งขึ้น โดยมีหลักและวิธีดังนี้

               ของเด็กๆ ทำให้คุณครูเริ่มแน่ใจว่า ครูมาถูกทางแล้ว เด็กๆ เกิดความมีเหตุมีผลในการ                        •  ครูผู้สอนควรจะสร้างบรรยากาศในการเรียน  โดยการจัดบรรยากาศ
               ทำงานแล้ว เครื่องดนตรีที่เด็กๆ ซ่อมแซมด้วยวิธีที่พอเพียง เกิดเป็นเสียงเพลงแห่ง                   ในการเรียนที่ดี  มีความสุขสนุกสนาน  ครูและนักเรียนมีรอยยิ้มและเสียงหัวเราะ

               ความภาคภูมิใจ ที่เด็กๆ ได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง                                                  เป็นบรรยากาศที่ผ่อนคลายไม่ตึงเครียด จะนำไปสู่บรรยากาศของความรัก ความอบอุ่น

                     เด็กชายภานุพงศ์ ชัยยา หนึ่งในสมาชิกของกลุ่มที่ซ่อมแซมซึง ได้เล่าความรู้สึก                 ความศรัทธา ความไว้วางใจ ความเชื่อมั่น สร้างเสริมปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับนักเรียน
               ให้กับคุณครูฟังว่า “ความจริงเราสามารถที่จะทำทุกสิ่งได้ แต่ต่างคนต่างคิดว่าทำไม่ได้               นักเรียนกับนักเรียนในชั้นเรียนด้วยกัน
               เราสามารถนำสิ่งต่างๆ มาปรับใช้ มันก็สามารถทำได้ และใช้ทดแทนกันได้ ต่อไป                                •  หลักการได้รับการยอมรับ การยกย่องชมเชย การเปิดโอกาสการมีส่วนร่วม

               ผมจะลองทำกับสิ่งอื่นๆ ต่อไป มันอาจจะไม่สวยงามเหมือนของเดิม แต่ถ้ามันใช้การได้                    ความสามัคคี ความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อกลุ่ม ความเอื้ออาทร ความซื่อสัตย์
               ผมก็พอใจแล้ว” ภานุพงศ์บอกกับครูด้วยความภาคภูมิใจ                                                 ความพากเพียร  ความอดทน  และที่สำคัญยิ่งคือบรรยากาศที่ส่งเสริมปัญญาด้วย

                     ข้าพเจ้าต้องการจะบอกเด็กๆ  ว่าการใช้สิ่งของที่พอเหมาะพอดีกับตัวเอง                         การกระตุ้นกระบวนการคิด การรับ/แลก/เลือกแนวทางการตัดสินอย่างประนีประนอม

                                                                                                                ในกลุ่มที่หลากหลาย  การใช้เหตุผลแทนอารมณ์  การคำนึงถึงผลที่ติดตามมา
               ทำอย่างไร  เป็นการฝึกให้เขามีเหตุผล
 ข้าพเจ้าไม่ได้ใส่ใจว่าเด็กจะต้องเล่นได้ดี
      ประมวลบทเรียน   หรือใช้ได้ดี แต่สนใจที่ว่าพอใช้ได้และใช้อย่างคุ้มค่า อันนี้เป็นเรื่องความพอประมาณ         การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีเช่นนี้ จะนำไปสู่การสร้าง

                                                                                                                ฐานนิสัยให้คุ้นเคยกับค่านิยมตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกิดการเรียนรู้
               ที่เราสอดแทรกให้เขารู้จัก  และเวลาที่เขาไปเล่นที่งานไหนแล้วของชำรุด  เขาจะ
               เกิดกระบวนการแก้ไขปัญหา เป็นการมีภูมิคุ้มกันในการคิดและการทำงาน ดนตรี

               แห่งความพอเพียงของเราจึงเกิดเป็นเพลงขึ้นมา                                                       ที่สามารถเชื่อมโยงไปสู่ครอบครัวได้
                                                                                                                      •  ที่สำคัญ ต้องมีจริยธรรมด้วย ทั้งตัวคุณครูและตัวผู้เรียน คือต้องเป็นคนดี
                     การทำงานของข้าพเจ้าน่าจะเสร็จสิ้นลงไปเมื่อครั้งการเรียนการสอนเกี่ยวกับ                     กันทุกฝ่าย พยายามแบ่งปันกำไรกลับคืนสู่สังคม อะไรก็แล้วแต่ เกิดภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง
               การซ่อมแซมเครื่องดนตรีเรื่องนี้จบลง หากแต่ว่าความเป็นครูซึ่งจะต้องพัฒนางานของ                    และสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
คุณครูคิดเช่นนั้น


                                                                                                                                    ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 117ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 117ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 117
               116
               116

               116 เรื่องเล่าจากคุณครูพอเพียงเรื่องเล่าจากคุณครูพอเพียงเรื่องเล่าจากคุณครูพอเพียง
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135