Page 116 -
P. 116
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรัพย์ในดิน
โดย นางสารภี สายหอม
เกริ่นนำ
วันหนึ่งฉันอ่านหนังสือพิมพ์พบว่ามีการประกวดสื่อเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยเป็นคน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๔ ให้ครูต้องจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนด้วย
ชอบอ่าน จึงอยากเขียนกับเขาบ้าง จึงไปค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม แล้วฉันก็ประยุกต์ วิธีการที่หลากหลาย ชี้แนะแหล่งเรียนรู้ และสอนให้ผู้เรียนรู้วิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง กลั่นประสบการณ์
ให้เข้ากับการดำเนินเรื่องของตัวละคร และสอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องของดิน ได้ฝึกปฏิบัติจริงและสอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
ที่ฉันสอนด้วย แล้วไปให้นักเรียนที่วาดรูปเก่งวาดรูปประกอบเรื่อง สื่อชิ้นนี้ได้รับรางวัล พอเพียง ซึ่งเป็นหลักคิด หลักปฏิบัติตน ให้รู้จักประมาณตน มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกัน
เหรียญทอง และทำให้ได้ไปศึกษาดูงานที่เกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ในตัวที่ดี รู้จักใช้วัตถุสิ่งของทรัพยากรอย่างพอเพียง อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
พอเพียงในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ นอกจากนี้ ฉันได้รับการคัดเลือกให้ มีจิตสำนึกรักษ์ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
เข้าร่วมจัดทำชุดหน่วยการเรียนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ณ วิทยาลัย
มหาดไทย อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี และได้เข้าร่วมกิจกรรมอีกหลายครั้งกับ การออกแบบการเรียนการสอน
โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ร่วมกับสำนัก ครูกระตุ้นให้นักเรียนสำรวจและสืบค้นหาความรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้เรื่องใกล้ตัว
วิชาการและมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. และสำนักพัฒนากิจการนักเรียนฯ นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยนำความรู้ที่เรียนรู้ร่วมกันในห้องเรียนมา
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้รับหนังสือเอกสารที่เกี่ยวข้องมาศึกษาเพิ่มเติม วิเคราะห์สภาพปัญหาของดินในชุมชน แล้วร่วมกันสืบค้นองค์ความรู้ของภูมิปัญญา
อีกมาก ท้องถิ่นในการอนุรักษ์และปรับปรุงดิน มีกระบวนการออกแบบการเรียนรู้ ดังนี้
๑. วิเคราะห์หลักสูตร เพื่อพิจารณาความสอดคล้องของมาตรฐานการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เนื้อหาสาระที่สามารถนำมาบูรณาการกับหลักปรัชญา
ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 103ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 103ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 103
102 เรื่องเล่าจากคุณครูพอเพียง