Page 100 -
P. 100

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี














                     ในปีการศึกษา ๒๕๔๙ ฉันเขียนโครงการคลินิกภาษาเป็นโครงการต่อเนื่อง
                                                                                                                      “เขาทำกันแล้ว แล้วโรงเรียนเราทำหรือยัง
               ดำเนินการอย่างปีที่ผ่านมา โดยมีการปรับปรุงพัฒนาแบบฝึกต่างๆ จัดหาหนังสือมาเป็น                                   และทำไมไม่ทำ”

               สื่อส่งเสริมการอ่าน โดยฉันคิดว่าโครงการจะดำเนินไปด้วยดี แต่แล้วปัญหาก็เกิดขึ้น
               ครูในหมวดวิชาภาษาไทยมีหน้าที่พิเศษที่ต้องรับผิดชอบกันมากมาย  จากที่เคยมา
               แก้ปัญหาให้นักเรียนที่คลินิกภาษาบ้างก็ค่อยๆ หายไป จากที่เคยคัดกรองส่งนักเรียนมา

               บ้างก็ค่อยๆ หายไปเช่นกัน อาจารย์บางท่านก็บ่นว่าหนวกหู เพราะคลินิกอยู่ติดกับ
               ห้องพักครู มันเป็นโจทย์ที่ฉันต้องแก้ปัญหาให้ได้ แต่จะทำอย่างไรดี

                     ฉันเริ่มรู้สึกท้อ  รู้สึกสับสนอยู่พักหนึ่ง  แต่แล้วฉันก็มีกำลังใจขึ้นมาอีกครั้ง                  ในขณะช่วงเวลานั้นฉันได้รับทราบถึงแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

               เพราะยังคงมีนักเรียนมาให้ฉันสอนและฝึกฝนอยู่เสมอ นอกจากนี้ เริ่มมีกลุ่มนักเรียน                   ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทย  เนื่องจาก
               ที่สนใจพัฒนาตัวเองเข้ามาขอฝึกการออกเสียงคำ  ฝึกการพูด  เป็นนักเรียนระดับ                         ท่านผู้อำนวยการได้มีนโยบายให้ครูและนักเรียนได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

               ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่เขาต้องทำกิจกรรมกับโรงเรียนและต้องใช้ความสามารถ                          พอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต ฉันเริ่มคิดในใจที่จะศึกษาหลักการนี้อย่างละเอียด
               ในการใช้ภาษาไทยเป็นหลัก เนื่องจากโรงเรียนโดยท่านผู้อำนวยการทิพวรรณ ยิ้มสวัสดิ์                   เนื่องจากมีหน้าที่ที่ต้องฝึกสอนนักเรียนพูดสุนทรพจน์ กล่าวเฉลิมพระเกียรติพระองค์
               ได้เปิดพื้นที่หรือให้โอกาสนักเรียนได้แสดงออก ได้ฝึกความเป็นผู้นำ ซึ่งนักเรียนเหล่านี้            ท่าน และต้องจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียน

               ทำให้ฉันเกิดความคิดในการแก้ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรขึ้นมาทันที เมื่อนักเรียน                       การสอนด้วย  ทำให้ทราบว่าแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถ
               กลุ่มนี้ได้รับการพัฒนาให้อยู่ในระดับที่สามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียนด้วยกันได้              นำมาประยุกต์ใช้ได้ในทุกเรื่อง ไม่เพียงแต่การประกอบอาชีพเกษตรกรรมหรือเรื่อง

               เขาจึงเป็น “หมออาสา” ของคลินิกภาษา                                                               เศรษฐกิจเท่านั้น เพราะหลักการสอนถึงความรู้จักพอประมาณ การมีเหตุมีผล การมี
                                                                                                                ภูมิคุ้มกัน โดยอยู่บนพื้นฐานเงื่อนไขของความรู้และคุณธรรม และนี่คือทางออกของ
      ประมวลบทเรียน                                                                                             โครงการคลินิกภาษานั่นเอง



                                                                                                                      ในปีการศึกษา ๒๕๕๐ ฉันเสนอโครงการอีก ซึ่งก็ได้รับการอนุมัติ ฉันจึงเริ่มต้น
                                                   “มีการศึกษาหาความรู้ คิดค้นพัฒนา

                                                และมีคุณธรรมในการปฏิบัติงานอย่างแท้จริง”                        ปรับรูปแบบของการดำเนินโครงการในส่วนของขั้นตอนการดำเนินโครงการ  คือ
                                                                                                                วางแผนนำปัญหาและอุปสรรคของปีที่ผ่านมามาปรับปรุงแก้ไข ขออนุญาตแต่งตั้ง
                                                                                                                นักเรียนเป็นเจ้าหน้าที่ประจำคลินิกภาษา หรือ “หมออาสา” จัดเตรียมฝึกพัฒนาให้

                                                                                                                “หมออาสา” มีความรู้ความสามารถเพียงพอแก่การแก้ปัญหาให้นักเรียนที่เข้ามาบำบัด



                                                                                                                                     ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 87ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 87ประสบการณ์จริงบนเส้นทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 87
               86
               86
               86 เรื่องเล่าจากคุณครูพอเพียงเรื่องเล่าจากคุณครูพอเพียงเรื่องเล่าจากคุณครูพอเพียง
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105