Page 245 -
P. 245

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                               รายงานฉบับสมบูรณ์   กันยายน
                                     โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


               ขนำนยำวตลอดแนวชำยฝั่งทะเลอันดำมัน มีลมมรสุมพัดผ่ำนตลอดทั้งโดยฤดูฝนจะเริ่มตั้งแต่เดือน มิถุนำยน – ปลำย
               เดือนพฤศจิกำยนของทุกปี ประชำกรส่วนใหญ่ในพื้นที่ ประกอบอำชีพ ประมงชำยฝั่ง บริกำร รับจ้ำงใน

               ภำคกำรท่องเที่ยว  และอำชีพกำรเกษตรเป็นหลัก

                              ชุมชนคลองก ำ เป็นอีกหนึ่งชุมชนที่ได้รับผลกระทบจำกภัยพิบัติสึนำมิ และปัญหำกำรกัดเซำะ
               ชำยฝั่ง ซึ่งภำยหลังที่ชุมชนประสบภัยพิบัติสึนำมิ ทำงส ำนักงำนประมงจังหวัดได้สนับสนุนให้เกิดโครงกำรฟื้นฟูอำชีพ
               เกษตรกรด้ำนกำรประมงเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยสึนำมิจังหวัดกระบี่ ได้จัดท ำโครงกำรเพำะเลี้ยงปูด ำในบ่อดิน พื้นที่

               หมู่ที่ 3 ต ำบลคลองประสงค์ อ ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย นอกจำกนั้นชุมชนยังได้
               รวมตัวกันเพื่อท ำกิจกรรมกำรอนุรักษ์เพื่อลดปัญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ง ได้แก่ กำรปลูกป่ำชำยเลนเพิ่ม และกิจกรรม

               กระตุ้นจิตส ำนึกของคนในชุมชนในกำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติ
                              นอกจำกนั้นในพื้นที่หมู่ที่ 3  ชุมชนคลองก ำ ยังเป็นพื้นที่ที่มีกำรจัดตั้งโรงเรียนปอเนำะ (โรงเรียน

               สอนศำสนำอิสลำม) ที่มีกำรส่งนักเรียนจำกสำมจังหวัดชำยแดนมำเรียนที่นี่ เพื่อมีเป้ำหมำยในกำรใช้หลักศำสนำใน
               กำรหล่อหลอมเด็กให้เป็นคนดีของสังคม อีกทั้งหมู่ที่ 3  ยังเป็นที่ตั้งของโรงแรมอัยลดำ อีโค รีสอร์ท โรงแรม

               แนวอนุรักษ์ธรรมชำติที่มีพื้นที่อยู่สุดหำดของท้ำยหมู่ที่ 3 บ้ำนคลองก ำ ต ำบลคลองประสงค์ อ ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่

                           หมู่ที่ 4 บ้ำนบำงขนุน ต ำบลคลองประสงค์ อ ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่

                               ชุมชนบ้ำนบำงขนุน เป็นชุมชนที่อยู่บนฝั่งในเขตใกล้เมืองกระบี่ เป็นชุมชนเดียวที่เป็นสมำชิกของ
               ต ำบลคลองประสงค์แต่ไม่ได้อยู่บนเกำะ และเป็นชุมชนที่มีจ ำนวนประชำกรใกล้เคียงกับหมู่ที่ 2 บ้ำนคลองประสงค์

               ชุมชนนี้เป็นแกนน ำหลักที่มีกำรจัดตั้งกลุ่มกำรท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวิถีชุมชนเขำขนำบน้ ำ เพื่อด ำเนินกำรในเรื่องกำร
               ดูแลและรักษำจัดกำรเขำขนำบน้ ำเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โดยมีกำรจัดตั้งคณะกรรมกำร มีกฎระเบียบใน

               กำรจัดกำรพื้นที่ กำรจัดสรรผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจำกกำรท่องเที่ยวในกำรดูแลระบบนิเวศเขำขนำบน้ ำ และยังจัดสรร
               คืนสู่สวัสดิกำรชุมชน โดยอำชีพหลักของคนในชุมชนเป็นภำคเกษตรกรรมปลูกสวนยำงและสวนปำล์ม รองลงมำยังคง

               เป็นประมงพื้นบ้ำน และรับจ้ำงภำคบริกำรกำรท่องเที่ยว
                              เมื่อกลำงปี พ.ศ. 2556 กลุ่มกำรท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวิถีชุมชนเขำขนำบน้ ำได้ร่วมกับส ำนักงำน

               พัฒนำฐำนเศรษฐกิจและชีวภำพ (สพภ.) ด ำเนินกำรโครงกำรกองทุนตอบแทนคุณระบบนิเวศน ำร่องเป็นพื้นที่แรกของ
               ประเทศไทย ส่งเสริมให้เอกชนและภำคประชำชน มีส่วนร่วมสนับสนุนในกำรอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศอย่ำงยั่งยืน

               สร้ำงรำยได้ให้กับชุมชนตำมหลักกำร Payment  for  Ecosystem  Services  (PES)  โดยกำรน ำเครื่องมือทำง
               เศรษฐศำสตร์มำใช้ในกำรส่งเสริมกำรอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศ มีองค์กรเข้ำร่วม 7 กลุ่มองค์กร ประกอบด้วย
               อบต.คลองประสงค์ โรงแรมอัยลันดำ อีโค รีสอร์ท กลุ่มกำรท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวิถีชุมชนเขำขนำบน้ ำ

               กลุ่มผู้ประกอบกำรโดยชุมชน ชมรมผู้ประกอบกำรท่ำเล ชมรมผู้ประกอบกำรท่องเที่ยวต ำบลคลองประสงค์
               และชมรมอนุรักษ์ป่ำชำยเลนต ำบลคลองประสงค์ ทั้งนี้เพื่อให้ภำคเอกชนและประชำชนสนับสนุนภำครัฐใน

               กำรอนุรักษ์ฟื้นฟูระบบนิเวศต่ำงๆ เพื่อประโยชน์ของกำรบริกำรระบบนิเวศ เช่น กำรเป็นแหล่งต้นน้ ำล ำธำร
               แหล่งเพำะพันธุ์สัตว์น้ ำ แหล่งอำหำรของชำวประมง เพื่อเป็นหลักประกันว่ำผู้รับประโยชน์จำกระบบนิเวศ จะได้รับ

               บริกำรระบบนิเวศที่มีปริมำณเพียงพอ และมีคุณภำพเหมำะสม สำมำรถใช้ประโยชน์ได้อย่ำงยั่งยืน และเป็นกำรสร้ำง
               รำยได้ให้แก่ชุมชน




                                                           7-72
   240   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250