Page 246 -
P. 246

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                               รายงานฉบับสมบูรณ์   กันยายน
                                     โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


                              กำรจัดกำรกับควำมเสี่ยงภัยพิบัติและกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ


                                บ้ำนบำงขนุน หมู่ที่ 4 เป็นพื้นที่ชำยฝั่งและเป็นพื้นที่สูง ได้รับอิทธิพลจำกลมมรสุมตลอดทั้งปี
               มีควำมเสี่ยง ดังนี้


                                 1)  มรสุมและพำยุ ลมพำยุรุนแรงเกิดขึ้นเสมอในช่วงฤดูมรสุม เนื่องจำกบ้ำนบำงขนุนตั้งอยู่
                                     บนเนินเขำ รับลมพำยุเข้ำมำโดยไม่มีต้นไม้ช่วยบังลมพำยุ จึงสร้ำงควำมเสียหำยเป็น

                                     ประจ ำทุกปี เช่น หลังคำบ้ำน สวนยำงพำรำ เป็นต้น


                                 2)  น้ ำท่วมดินถล่ม บ้ำนบำงขนุนเป็นพื้นที่รองรับน้ ำจำกคลอง 2 สำยมำบรรจบ จำกต ำบล
                                     กระบี่น้อย และอ ำเภอเขำพนม ซึ่งเป็นพื้นที่ภูเขำก่อนจะไหลผ่ำนบ้ำนบำงขนุนเพื่อไหลลง

                                     ทะเลต่อไป เมื่อปี พ.ศ. 2554  เกิดฝนตกหนักส่งผลให้เกิดดินถล่มพื้นที่สวนยำงพำรำ
                                     ได้รับควำมเสียหำย น้ ำท่วมปิดทำงเข้ำออกของชุมชนไม่สำมำรถสัญจรไปมำได้ น้ ำเชี่ยวยัง
                                     ส่งผลกระทบต่อกระชังปลำและเครื่องมือประมง เรือ และระบบประปำไม่สำมำรถใช้

                                     ประโยชน์ได้


                                 3)  น้ ำเสีย บ้ำนบำงขนุนเป็นพื้นที่ปลำยน้ ำ ซึ่งรับน้ ำต่อมำจำกพื้นที่กระบี่น้อยซึ่งเป็นที่ตั้งของ
                                     ห้ำงสรรพสินค้ำใหญ่ 2 แห่ง ห้ำงดังกล่ำวจะปล่อยน้ ำเสียมำตำมท่อลงสู่คลองโดยตรง

                                     ผ่ำนบ้ำนบำงขนุน และเนื่องจำกบ้ำนบำงขนุนไม่มีป่ำชำยเลน เนื่องจำกเปิดท ำพื้นที่
                                     เกษตรหมด น้ ำเสียที่ไหลลงคลองสู่ทะเลนั้นจึงไม่มีระบบกรองธรรมชำติ ส่งผลต่อสัตว์น้ ำ
                                     และกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำชำยฝั่ง


                                เป้ำหมำยของกำรตั้งรับปรับตัวต่อกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศของชุมชนบ้ำน
               คลองประสงค์ คือ กำรพัฒนำให้ชุมชนมีควำมพร้อมและพึ่งพำตนเองได้ เพื่อลดควำมเสี่ยงที่เกี่ยวข้องจำกผลกระทบ

               จำกกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ โดยกำรร่วมมือกับองค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงำนภำครัฐ

               และภำคเอกชนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ซึ่งให้ควำมส ำคัญกับภัยสึนำมิ คลื่นลม พำยุมรสุม และกำรกัดเซำะชำยฝั่งที่มี
               ผลกระทบรุนแรงต่อกำรด ำเนินวิถีชีวิตของชุมชน ทั้งนี้มูลนิธิรักษ์ไทยได้มีส่วนส ำคัญในกำรช่วยเหลือชุมชนในกำร
               ผลักดันให้พัฒนำแผนชุมชนจัดกำรผลกระทบจำกกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ และกำรตั้งรับปรับตัวของชุมชน

               โดยกระบวนกำรให้ข้อมูล ควำมรู้ข่ำวสำรที่เกี่ยวข้อง และด ำเนินกำรให้เกิดกำรมีส่วนร่วมในทุกภำคส่วน

                                กิจกรรมกำรตั้งรับปรับตัวต่อกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศของชุมชนที่ก ำหนดเป็นแผนงำน/

               โครงกำรของชุมชุนมีดังนี้


                                 1)  แผนป้องกันบรรเทำภัย:  กำรปลูกป่ำชำยเลน ปลูกต้นไม้ยึดหน้ำดินและเป็นแนวกันลม
                                     กำรดูแลและกำรฟื้นฟูป่ำชำยเลน  กำรก ำหนดกติกำกำรใช้ประโยชน์ทรัพยำกรทรัพยำกร

                                     ทำงทะเลร่วมกัน กำรปล่อยพันธุ์สัตว์น้ ำ กำรฟื้นฟูบ่อน้ ำของชุมชน ซึ่งสิ่งที่ได้ด ำเนินกำร







                                                           7-73
   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251