Page 241 -
P. 241

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                               รายงานฉบับสมบูรณ์   กันยายน
                                     โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


                              กำรจัดกำรกับควำมเสี่ยงภัยพิบัติและกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ


                                บ้ำนเกำะกลำงมีพื้นที่ติดชำยฝั่งทะเลอันดำมัน และพื้นที่ปำกแม่น้ ำกระบี่ ส่งผลให้มีควำมเสี่ยง
               สูงต่อกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งที่เกี่ยวข้องกับลมพำยุและน้ ำ ดังนี้


                                1)  สึนำมิ ในปี พ.ศ. 2547 แม้จะไม่มีผู้ใดในชุมชนเสียชีวิต เนื่องจำกเป็นช่วงน้ ำลงและได้รับ
                                    ข่ำวสำรเตือนภัยมำจำกพื้นที่อื่น แต่ก็สร้ำงควำมเสียหำยให้แก่ทรัพย์สินต่ำงๆ เช่น

                                    บ้ำนเรือนและกระชังปลำ นอกจกำนั้นยังมีผลต่อขวัญและควำมหวำดวิตกของชำวบ้ำน
                                    จนมีบำงส่วนอพยพขึ้นมำอยู่ในเมือง


                                2)  มรสุมและพำยุ ชำวบ้ำนประสบกับมรสุมและพำยุเป็นประจ ำในช่วงเดือนมิถุนำยน-

                                    พฤศจิกำยนของทุกปี  ส่งผลให้หลังคำบ้ำนเรือนเสียหำย และส่งผลต่อวิถีชีวิตของคน
                                    ในชุมชน ไม่สำมำรถออกเรือท ำกำรประมงได้เป็นระยะเวลำยำวนำน ส ำหรับธุรกิจจำก
                                    กำรท่องเที่ยว ก็ท ำให้ขำดรำยได้จำกจ ำนวนนักท่องเที่ยวที่ลดลงในช่วงเวลำดังกล่ำว


                                3)  กำรกัดเซำะชำยฝั่ง บ้ำนเรือนที่ตั้งอยู่ชำยฝั่งประสบปัญหำกับกำรกัดเซำะชำยฝั่ง

                                    อย่ำงต่อเนื่อง ซึ่งกำรกัดเซำะตลิ่งของบ้ำนเกำะกลำงเกิดจำกกำรขุดลอกคลอง เนื่องจำก
                                    ดินบนตลิ่งถูกดึงเข้ำไปแทนที่ทรำยที่ถูกดูดดออกไป จึงท ำให้เกิดกำรกัดเซำะชำยฝั่ง

                                    บริเวณท่ำเลอย่ำงรุนแรง กำรสร้ำงเขื่อนคอนกรีตบริเวณฝั่งเทศบำลเมืองกระบี่ ท ำให้เกิด
                                    กระแสน้ ำกัดเซำะบริเวณฝั่งเกำะกลำงมำกขึ้นและไปถมบริเวณพื้นที่ฝั่งเทศบำลเมืองกระบี่
                                    แทน นอกจำกนั้น คลื่นที่มำจำกเรือที่วิ่งตลอดกลำงวันและกลำงคืน ส่งผลให้เกิดคลื่นมำ

                                    กระทบฝั่ง ระดับน้ ำทะเลที่สูงขึ้น ล้วนเป็นปัจจัยที่ท ำให้เกิดกำรกัดเซำะชำยฝั่งที่รุนแรงมำก
                                    ตำมด้วยระดับน้ ำท่วมพื้นที่ชำยฝั่ง


                                 กิจกรรมกำรตั้งรับปรับตัวต่อกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศของชุมชนที่ก ำหนดเป็นแผนงำน/

               โครงกำรของชุมชุนมีดังนี้

                                1)  แผนป้องกันบรรเทำภัย: กำรปลูกป่ำชำยเลน ปลูกต้นไม้ยึดหน้ำดิน กำรฟื้นฟูป่ำชำยเลน

                                    กำรก ำหนดกติกำกำรใช้ประโยชน์ทรัพยำกรป่ำชำยเลนร่วมกัน ซึ่งสิ่งที่ได้ด ำเนินกำรไปแล้ว
                                    คือ กำรเพิ่มเนื้อที่ป่ำจำก เพื่อสร้ำงควำมอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่และเป็นแหล่งรำยได้ของ

                                    ชุมชน

                                2)  แผนเตรียมควำมพร้อม: อบรมให้ควำมรู้เรื่องภัยธรรมชำติ ภัยพิบัติต่ำงๆ อบรมเรื่องกำรกู้

                                    ชีพกู้ภัยทำงทะเลกำรปฐมพยำบำลเบื้องต้น ซ้อมกำรอพยพหนีภัย จัดหำและปรับปรุง
                                    เครื่องมือส ำหรับกำรปฏิบัติงำนของคณะท ำงำนชุมชน เช่น วิทยุสื่อสำร เสื้อสะท้อนแสง

                                    สัญญำณเตือนภัย ชุดเวชภัณฑ์ จัดท ำป้ำยแผนที่ แสดงจุดปลอดภัยและเส้นทำงอพยพ
                                    กำรสร้ำงควำมตระหนักให้แก่คนในชุมชน เช่น กำรซ้อมอพยพ จัดรำยกำรเสียงตำมสำย





                                                           7-68
   236   237   238   239   240   241   242   243   244   245   246